Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 20, No. 3 (2014) open journal systems 


ล่ามในกระบวนการช่วยเหลือและคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
Interpreting for the Assistance and Protection of Trafficking Victims: An Overview


ศิริพร ศิริธนชัย, ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ
หนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์, ภาควิชาภาษาตะวันตก, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Siriporn Sirithanachai, Chalermprakiat Center of Translation and Interpretation
Nunghatai Rangponsumrit, Faculty of Arts, Chulalongkorn University


Abstract
It is important to assist and protect those who have fallen prey to human trafficking. In Thailand, most victims are foreigners are not able to communicate in Thai. In the fact-finding process which seeks to assist the victimized and to prosecute the perpetrators, interpreters play a vital role. By examining their roles and working conditions as well as the problems they encounter, this study aims to contribute to better preparation and training of interpreters in Thailand and to the betterment of the system in which these language professionals are called upon to function. A review of relevant literature and interviews with twenty individuals involved in the process, including social workers, police officers, lawyers, interpreters and victims, revealed how closely interpreters work with the interdisciplinary team. The role of the interpreter is found to vary according to the context and the expectation of those who call upon his or her skills. This study indicates an urgent need for improvements in the number and quality of interpreters, in contact and coordination systems, and in the remuneration they are presently offered.

Keywords: interpreting, trafficking in persons, trafficking victim protection

บทคัดย่อ
กระบวนการหนึ่งที่สำคัญในการจัดการรับมือกับ ปัญหาการค้ามนุษย์คือการช่วยเหลือและคุ้มครอง สวัสดิภาพผู้เสียหาย เนื่องจากผู้เสียหายจากการค้า มนุษย์จำนวนมากเป็นชาวต่างชาติซึ่งไม่สามารถ สื่อสารภาษาไทยได้ ล่ามจึงมีบทบาทสำคัญในการช่วย ให้เจ้าหน้าที่สามารถสอบถามข้อเท็จจริงเพื่อให้ความ ช่วยเหลือที่ผู้เสียหายต้องการและจับกุมดำเนินคดีกับ ผู้กระทำผิดได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความต้องการและระบบจัดหาล่ามในกระบวนการ ช่วยเหลือและคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ลักษณะการทำงานและบทบาทของล่าม และปัญหาใน ระบบงานปัจจุบัน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา ระบบจัดหาล่ามและระบบการอบรมล่ามให้มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ คณะผู้วิจัยศึกษาเอกสารและ สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการจำนวนทั้งสิ้น 20 คน ซึ่งประกอบไปด้วยนักสังคมสงเคราะห์ เจ้าหน้าที่ตำรวจ ทนายความ ล่าม และผู้เสียหาย ผลการศึกษาพบว่าล่ามในกระบวนการช่วยเหลือ และคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จะทำงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพและมีบทบาทที่แตกต่าง ไปตามบริบทการทำ งานและความคาดหวังของ ผู้ใช้ล่าม ปัญหาเร่งด่วนที่ควรแก้ไขคือเรื่องปริมาณ และคุณภาพของล่าม การติดต่อประสานงานและ ค่าตอบแทนของล่าม

คำสำคัญ: การคา้ มนุษย์, การคุม้ ครองผูเ้สียหายจาก การค้ามนุษย์, ล่าม


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548