Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 20, No. 1 (2014) open journal systems 


กระบวนการสร้างสันติภาพ: กรณีศึกษาประเทศโคลอมเบีย
Peace Process: Case Study in Colombia


อภิญญา ดิสสะมาน, สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า

Apinya Tissamana, King Prajadhipok Institute


Abstract
This article collects peace process in the South America Country, Colombia.The outstanding peace process in this case is “Restorative Justice” that used in law revolution for creating peace in Colombia. The conflict in Colombia is a virtuous lesson learned for resolving protracted conflict in deepsouth of Thailand especially in opening space for peace dialogue and reducing violence. Colombia case study use the restorative justice and law reforming for resolving the conflict and creating reconciliation in the country that transform the violence to negotiation on the table and find the resolution. The conflict situation in Colombia relate in many factors for stimulating conflict in the country such as political factor, economical factor and social factor. There are the local armies in many parts of Colombia for protecting themselves that why we can call the conflict in Colombia is “armed conflict” and this conflict had been happened for 50 years. The violence and armed conflict in Colombia are high complexity. The framework for resolving conflict in Colombia is “Transitional Justice” for resolving the pre and post conflict.

Keywords: armed conflict, peace process, transitional justice

บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้เป็นการรวบรวมกระบวนการสร้าง สันติภาพที่เกิดขึ้นในประเทศแถบอเมริกาใต้คือ โคลอมเบีย ผู้เขียนเห็นความสำคัญของกรณีศึกษา ประเทศนี้เนื่องจากประเทศโคลอมเบียได้นำ กระบวนการยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice) มาใช้อย่างจริงจังในการปฏิรูปกฎหมายของ ประเทศ ประสบการณ์ความขัดแย้งในประเทศ โคลอมเบียนั้นสามารถเป็นกรณีศึกษาแก่ประเทศไทย ในเรื่องของการมีความพยายามที่จะเปิดพื้นที่พูดคุย สันติภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และลดความ รุนแรงในประเทศโดยมีการสร้างกระบวนการยุติธรรม สมานฉันท์มาประยุกต์ใช้กับบริบทของประเทศและ กฎหมายเป็นตัวนำเพื่อสร้างกระบวนการปรองดอง และเปลี่ยนแปลงความรุนแรงมาเป็นการขึ้นโต๊ะเจรจา เพื่อเสนอข้อต่อรองอันเป็นทางออกของทั้งสองฝ่ายได้ สถานการณ์ความขัดแย้งในประเทศโคลอมเบียเชื่อม โยงเกี่ยวข้องทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมจน เกิดมีการจัดตั้งกองกำลังติดอาวุธขึ้นต่อต้านรัฐบาล โคลอมเบีย และกลายเป็นความขัดแย้งจากกองกำลัง ติดอาวุธ (Armed Conflict) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็น สาเหตุหลักในการก่อให้เกิดความรุนแรงขึ้นภายใน ประเทศมาตลอดระยะเวลากว่า 50 ปี ความขัดแย้งและ ความรุนแรงในประเทศโคลอมเบียมีความซับซ้อนสูง และกรอบแนวคิดกระบวนการสร้างสันติภาพสำคัญใน ประเทศโคลอมเบีย คือการใช้กรอบกระบวนการ ยุติธรรมเปลี่ยนผ่านในการแก้ไขปัญหาก่อนและหลัง ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในประเทศ

คำสำคัญ: กระบวนการสร้างสันติภาพ, ความขัดแย้ง จากกองกำลังติดอาวุธ, ยุติธรรมระยะ เปลี่ยนผ่าน


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548