Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 19, No. 2 (2013) open journal systems 


An Analysis of News Reporting on South Thailand Insurgency and An Implementation of the IBIL Model
การวิเคราะห์การรายงานข่าวสถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ของไทยและการใช้แบบจำลอง IBIL


Nuwan Thapthiang, Faculty of Communication Sciences, Prince of Songkla University

นุวรรณ ทับเที่ยง, คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


Abstract
This article presents a pattern of news reporting on south Thailand insurgency in major national newspapers and demonstrates “a cause-effect model” to explain this on-going violent crisis. The pattern consists of four main conceptions: (1) the greater the quantity, the worse the quality, (2) the more sensational, the more attractive, (3) the more influential, the louder and (4) the more selfinterested, the less altruistic. From such pattern, a cause-effect IBIL Model was then formulated with four contributing factors: Ideology of media organization, Bad news almost always outselling good news, Influential individuals as major news sources and Limitation of time and space. The IBIL Model was later tested with two recent cases of car bombings at Had Yai Lee Gardens Plaza and C.S. Pattani hotels in 2012. Result analysis of IBIL Model implementation reveals that with all four contributing factors, the model could well explain how mass media covered similar violent incidents. However, in order to help the general public, as media consumers, to be media proposed with four essential traits: Immune, Critical, Objective and Non-judgmental. The paper finally concludes that IBIL Model can and should help investigate different circumstances in order to see if the model can help elucidate how mass media exercise their journalistic functions and/or if it should or need be modified under particular circumstances.

Keywords: insurgency, news reporing, southernmost province, south Thailand

บทคัดย่อ
บทความนี้วิเคราะห์รูปแบบการรายงานข่าว สถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ของไทยใน หนังสือพิมพ์ระดับชาติ และนำเสนอ “รูปแบบของ สาเหตุและผลกระทบ” เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว ที่ยังยืดเยื้ออยู่ในขณะนี้ รูปแบบดังกล่าวประกอบด้วย แนวคิดหลัก 4 แนวคิดคือ (1) ปริมาณยิ่งมาก คุณภาพ ยิ่งด้อยลง (2) ยิ่งเร้าใจมาก ยิ่งน่าติดตาม 3) อำนาจ ยิ่งมาก เสียงยิ่งดัง และ (4) ยิ่งเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน มาก ยิ่งเห็นแก่ส่วนรวมน้อยลง จากรูปแบบดังกล่าว “IBIL Model” ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยมีปัจจัยหลัก 4 ประการคือ (1) อุดมการณ์ขององค์กรสื่อมวลชน (2) ขา่ วรา้ ยขายดีกวา่ ขา่ วดี (3) ผูมี้อำนาจเปน็ แหลง่ ขา่ ว สำคัญ และ (4) ข้อจำกัดของเวลาและเนื้อที่ “IBIL Model” ถูกทดลองใช้เพื่ออธิบายเหตุการณ์ ระเบิดรถยนต์ที่โรงแรมลีการ์เด้น พลาซ่า หาดใหญ่และ โรงแรม ซี เอส ปัตตานีในปี 2555 ผลการวิเคราะห์พบว่า ปัจจัยทั้ง 4 สามารถอธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวได้เป็น อย่างดี อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเป็นผู้รับ สารที่รู้เท่าทันสื่อ “ICON Model” เสนอวา่ ผูรั้บสารตอ้ ง มีลักษณะ 4 ประการ ดังนี้ (1) มีภูมิคุ้มกันภัยจากผลก ระทบจากเนื้อหาสื่อ (2) มีวิจารณญาณในการวิเคราะห์ เนื้อหาสื่อ (3) ปราศจากอคติ และ (4) ไม่ด่วนตัดสินคน/ กลุ่มคน/สถานการณ์ บทความนี้พบข้อสรุปว่า “IBIL Model” สามารถช่วยอธิบายสถานการณ์ต่างๆ เพื่อ ตรวจสอบว่ารูปแบบดังกล่าวสามารถอธิบายการ ทำงานของสื่อมวลชนได้อย่างไร และ/หรือควรได้รับ การปรับปรุงเพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์เฉพาะหรือไม่

คำสำคัญ: การรายงานข่าว, ภาคใต้ของไทย, สถานการณ์ความไม่สงบ, สามจังหวัด ชายแดนใต้


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548