แสงรัตน์, ., & Saengrat, <. (2012, December 12). ผู้หญิง เพศ และกามารมณ์ในนวนิยายของนักเขียนสตรีอินโดนีเซีย: อายู อูตามิผู้นำกลุ่มวรรณกรรมรัญจวน
Women, Sex and Desire in Indonesian Novels by Female Authors: Ayu Utami leader of the Sastra Wangi Group. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 18(4). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=993.

ผู้หญิง เพศ และกามารมณ์ในนวนิยายของนักเขียนสตรีอินโดนีเซีย: อายู อูตามิผู้นำกลุ่มวรรณกรรมรัญจวน
Women, Sex and Desire in Indonesian Novels by Female Authors: Ayu Utami leader of the Sastra Wangi Group

อัจจิมา แสงรัตน์,

Atchima Saengrat, School of Liberal Arts, Walailak University

Abstract

This article intends to look into an important change within Indonesia literature, i.e. increasing role of women writers in Indonesia during the Reformasi era after the collapse of the New Order regime. It focuses on the work of Ayu Utami, a contemporary Indonesian woman writer considered a sharp beginning of female voices in Indonesian literature. The study also put’s an emphasis on female characters as the Subject in illustrating the equality between male and female, especially the representation of female sexuality, heterosexuality or homosexuality. Additionally, it intends to portray female actions and desires in articulating the question on the concept of Muslim society in Indonesia and its patriarchal nature that oppresses and controls female sexuality. It is arguable that her writing has created a fertile stream for other women writers who are subsequently joined by a group, called “fragrant literature” group that has eventually became an important phenomenon in Indonesian literature.

Keywords: muslim society in Indonesia, Reformasi Era, sex, women writers

บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวงการวรรณกรรม อินโดนีเซียในยุคปฏิรูป (Reformasi) หลังการล่มสลาย ของยุคระเบียบใหม่ (Orde Baru) โดยเน้นศึกษางาน เขียนของนักเขียนสตรีอย่างอายู อูตามิ (Ayu Utami) ผูเ้ริ่มตน้ สรา้ งกระแสในการเขียนงานที่สรา้ งใหตั้วละคร ผู้หญิงเป็นองค์ประธานในการถ่ายทอดปัญหาความ ไม่เท่าเทียมกันของหญิงและชาย โดยเฉพาะการนำเสนอ เรื่องราวเกี่ยวกับลักษณะทางเพศวิถีของผู้หญิงทั้ง รักต่างเพศและรักเพศเดียวกันในแง่ที่เป็นองค์ประธาน เต็มเปยี่ ม รวมทั้งกลา้ ตั้งคำถามและโตเ้ถียงกับแนวคิด ของสังคมมุสลิมอินโดนีเซียและระบบชายเป็นใหญ่ที่ คอยกดขี่และควบคุมผูห้ ญิง รวมทั้งกลุม่ รักเพศเดียวกัน ในเรื่องวิถีทางเพศ นักเขียนสตรีที่ถ่ายทอดเรื่องราว ดังกลา่ วขา้ งตน้ ไดถู้กจัดเขา้ รว่ มกันดว้ ยชื่อเรียกวา่ กลุม่ “วรรณกรรมรัญจวน” (sastra wangi) ซึ่งกลายเป็น ปรากฏการณ์สำคัญในวงวรรณกรรมอินโดนีเซีย

คำสำคัญ: นักเขียนสตรี, เพศ, ยุคปฏิรูป, สังคมมุสลิม ในอินโดนีเซีย

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=993