พงศกรรังศิลป์, ., พูศักดิ์ศรีกิจ, ., Pongsakornrungsilp, <., & Pusaksrikit, T. (2012, September 10). ความเชื่อและพฤติ กรรมการบริ โภคเครื่องรางของขลังและวัตถุมงคลของชาวไทย
Beliefs and Behaviors of Amulet Thai Consumers. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 18(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=981.

ความเชื่อและพฤติ กรรมการบริ โภคเครื่องรางของขลังและวัตถุมงคลของชาวไทย
Beliefs and Behaviors of Amulet Thai Consumers

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์, กลุมวิจัยการบริโภคและเศรษฐกิจยั่งยืน สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลั
ธีรนุช พูศักดิ์ศรีกิจ, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย

Siwarit Pongsakornrungsilp, Consumption and Sustainable Economy Research Cluster (CSE), School of Management
Theeranuch Pusaksrikit, School of Business, the University of the Thai Chamber of Commerce

Abstract

This study aims to understand Thais’ beliefs and behaviors of amulet consumption. The qualitative research method - Netnography - was employed to understand consumer’s insights toward sociocultural factors within online community. Data collection was carried out by participatory+nonparticipatory observations as well as through personal message from three online communities within Palungjit.com [http://www.palungjit.com], the world’s largest Buddhism online community. The findings show that Thai consumers believe that possessing amulet would contribute them good Hence, Thai consumers possess amulets for 1) experience consumption of amulets, 2) symbolic consumption of amulets, 3) social consumption of amulets, and 4) community identity of amulets.

Keywords: amulet, consumer behavior, consumer beliefs, Netnography, socio-cultural factor

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเชื่อ และพฤติกรรมการบริโภคเครื่องรางของขลังและ วัตถุมงคลของชาวไทย โดยใช วิธีการวิจัยเชิง คุณภาพ “การศึกษามานุษยวิทยาบนอินเทอรเน็ต” (netnography) ซึ่งเปนวิธีการที่ใชทําความเขาใจ กับปจจัยดานสังคมและวัฒนธรรมของผูบริโภคบน สังคมออนไลน ผูวิจัยเก็ บรวบรวมขอมู ลจากการ สังเกตแบบมีสวนรวม และแบบไมมีสวนรวม รวมทั้ง การสอบถามเพิ่ มเติมโดยใชขอความสวนบุคคล (personal message: PM) จากผูบริโภคในชุมชน ออนไลน 3 ชุมชน จากเว็บไซต พลังจิตดอทคอม [http://www.palungjit.com] ซึ่งเปนเว็ บไซตที่ เกี่ยวของกับพุทธศาสนาที่ใหญที่สุดของโลก ผลการ วิจัย พบวา ผูบริโภคมีความเชื่อในการครอบครอง เครื่ องรางของขลังและวัตถุมงคลในดานโชคลาภ และเงินทอง ดานเมตตาและมหาเสนหและดานการ คุมครองและปลอดภัย ทั้งนี้ ผูบริโภคมีการบริโภค เครื่องรางของขลั งและวัตถุ มงคลในดานต างๆ ไดแก 1) การบริโภคประสบการณ ของการครอบครอง 2) การบริโภคความหมายเชิงสัญลั กษณ 3) การ บริโภคผลประโยชนทางสังคม และ 4) การบริโภค ผลประโยชนทางดานอัตลักษณของชุมชน

คําสําคัญ: การศึกษามานุษยวิทยาบนอินเทอรเน็ต, ความเชื่อของผูบริโภค, เครื่องรางของ ขลังและวัตถุมงคล, ป จจัยทางสังคม และวัฒนธรรม, พฤติกรรมผูบริโภค

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=981