ธรรมานนท์, ., & Dhanmanonda, <. (2012, September 10). สัมพันธภาพทางการค้าในโลกยุคโบราณของเอเชี ยตะวันตก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก
The Commercial Interaction in the Ancient Time between West Asia, South Asia and East Asia. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 18(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=980.

สัมพันธภาพทางการค้าในโลกยุคโบราณของเอเชี ยตะวันตก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก
The Commercial Interaction in the Ancient Time between West Asia, South Asia and East Asia

วันวิสาข์ ธรรมานนท์, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินท

Wanwisa Dhanmanonda, Department of History, Faculty of Humanities and Social Sciences Prince of Songk

Abstract

Early relationships between West Asia, South Asia and East Asia all started from trading which took place before Christian era. The objective of this paper is to describe and analyse commercial interaction between the three regions in the ancient and medieval times by studying archaeological evidences associated with literary data. All data indicate that some various commodities have been affecting commercial relations of WA, SA and EA, leading to the founding of markets, seaports as well as on-land and at-sea trading stations in order to support trade. Initially, great important trade routes, were overland routes known as “Silk Road” The name derived from the Chinese silk trade. These routes covered broad areas of Ancient China, some parts of Ancient India, Asia Minor, West Asia and the Mediterranean. Later, the discovery of the southwest monsoon wind by Hippalus resulted in the development of maritime trade routes. This wind helped navigators to be able to plot a direct route from the Red Sea to India resulting in faster transportation and enabling them to carry a lot of merchandise. Because of these advantages, the maritime trade began to flourish. The important merchandise was Chinese silk, porcelain, spices and products from tropical jungle for which West Asian merchants and South Asian merchants acted as middlemen. Meanwhile, Chinese people required luxury goods from those regions as well. The concentration of trading activities gave rise to the markets exchange, ports and entrepôt along the way of maritime trade. These ports and entrepôt are not only breakpoints for repairing ships and preparing supplies, but also good-distributing center for the inner land. The commercial interaction of these three regions had continued for a long time until the involvement of European merchants, resulting in changes in the business cycle in later time.

Keywords: Ancient trade, East Asia, South Asia, West Asia

บทคัดย่อ
ความสัมพันธในยุคแรกเริ่มระหวางเอเชียตะวันตก เอเชียใต และเอเชียตะวันออก ลวนมีจุดเริ่มตนมาจาก การคา ซึ่งมีมาตั้งแตสมัยกอนคริสตกาลแลว บทความ ชิ้นนี้มีจุดประสงค เพื่ อแสดงให เห็นสัมพันธภาพทาง การคาระหวางทั้ง 3 ภูมิภาคตั้งแตยุคโบราณถึงยุคกลาง โดยใช หลักฐานทางโบราณคดีรวมกั บหลักฐานทาง เอกสาร ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา สินคาบางประเภท ไดสงผลตอความสัมพันธทางการคาของทั้ง 3 ภูมิภาค อยางยาวนาน และกอใหเกิดตลาด เมืองทา และสถานี การคาบนเสนทางทางบกและทางทะเลขึ้ นหลายจุด เพื่อรองรับการคาที่เกิดขึ้นดังกลาวนี้ โดยในระยะแรก ทั้ง 3 ภูมิภาคตางใหความสํ าคัญกับเสนทางการคา ทางบกที่เรียกวา “เสนทางสายไหม” ตอมา เมื่อการเดิน ทางทางทะเลพัฒนามากขึ้น เช น การคนพบการใช ลมทะเลของฮิ ปปาลุส ที่ทําให ไมตองเสียเวลาในการ แลนเรือเลียบชายฝงอีกตอไป กอปรกับการขนสินคา ทางเรือ สามารถขนไปไดในปริมาณที่มากกวาทางบก ดังนั้น กิจกรรมการคาทางทะเลจึงเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ สินคาสําคัญที่มีการซื้อขายกันคือ เครื่ องเทศ ผลผลิต จากปา เชน หนังกวาง ไมจันทนแดง ไมหอมรวมถึงผาไหม และเครื่องถวยจีน ซึ่งพอคาเอเชียตะวันตก และพอคา เอเชียใต ตางพยายามเปนพอคาคนกลางในการคาขาย สินคาเหลานี้กับจีน สวนจีนเองก็ตองการสินคาประเภท ฟุมเฟอยจากทั้ง 2 ภูมิภาคนี้เชนกัน การคาที่ทวีความ เขมขนของทั้ง 3 ภูมิภาคนี้ สงผลใหเกิดตลาด เมืองทา และสถานีการคาขึ้นตามเสนทางการคาทางทะเล ตั้งแต เอเชียตะวันตก เอเชียใต จนถึงจีนหรือเอเชียตะวันออก ซึ่งสถานีการคาเหลานี้เองที่เปนทั้งจุดแวะพักและเปน ศูนยกลางในการซื้อขายและกระจายสินคาเขาสูพื้นที่ ตอนใน สัมพันธภาพทางการคาดังกลาวดําเนินตอไป หลายรอยป จนกระทั่งพอคาชาวยุโรปไดเขามามีสวนแบง ทางการตลาดและไดเปลี่ยนแปลงระเบียบแบบแผนที่ เคยเปนมา ซึ่ งทํ าให โฉมหนาทางการค าของทั้ง 3 ภูมิภาคเปลี่ยนไปในที่สุด

คําสําคัญ: การคาสมัยโบราณ, เอเชียตะวันตก, เอเชีย ตะวันออก, เอเชียใต

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=980