แสงสว่าง, . (2004, September 7). พุทธศาสนา : เจ้าตำรา EQ. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 8(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=93.

พุทธศาสนา : เจ้าตำรา EQ

พล แสงสว่าง, ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Abstract

แนวความคิดเรื่องความฉลาดทางอารมณ์ หรือ EQ เป็นที่กล่าวถึงอย่างแพร่หลายในวงการศึกษาของไทยเมื่อสองสามปีมานี้เอง แต่หากพินิจให้ลึกซึ้งแล้ว จะเห็นได้ว่าความฉลาดทางอารมณ์มีมานานแล้วในพุทธศาสนา เมื่อลองเปรียบเทียบอย่างพิศดาร จะเห็นความ แตกต่างในเรื่องความลุ่มลึกได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะการใช้ปัญญาเพื่ออารมณ์นั้นมีอยู่เกือบทุกหัวข้อธรรมในพุทธศาสนา พุทธศาสนาสอนเรื่องการทำสมาธิโดนใช้หลักสติปัฏฐาน 4 อันประกอบด้วยฐานกาย (พฤติกรรม) อารมณ์ (เวทนา) จิตและธรรมอย่างแยบคายลึกซึ้ง ต่างจากศาสนาอื่นซึ่งมีหลักคำสอนเกี่ยวกับการฝึกสมาธิแต่ไม่ใช้หลักสติปัฐฐาน 4 ในแง่ของการควบคุมอารมณ์ทางลบและพัฒนาอารมณ์ทางบวก พุทธศาสนามีกลอุบายให้ใช้มากมาย ด้วยเหตุนี้ผู้เขียนจึงให้ชื่อบทความนี้ว่า “พุทธศาสนา : เจ้าตำรา EQ” คำสำคัญ : ธรรมารมณ์, ผัสสะ, โผฎฐัพพะ, พุทธศาสนา, วิตถะ, สติปัฏฐาน, สมาธิ The concept of Emotional Quotient or EQ was introduced into the Thai educational clique only a few years ago. However, upon investigation, it is found that the so-called EQ concept has long existed in Buddhish, and the Buddhist version is more profound. One will fine, in almost every talk on the Dharma, that wisdom is recommended as a means to restrain emotions or passions. Buddhist meditation or mind training, unlike that of other religions, is focused on the Four Foundations of Mindfulness or Satipatthana, which include Kayanupassana (contemplation of the body), Vedananupassana (contemplation of feelings), cittanupassana (contemplation of mind), and Dhammanupassana (contemplation of mind-bjects). Buddhism has a wealth of strategies to cope with positive and negative emotions; this article is thus entitled Buddhism as an EQ Authority. Keywords : Buddhism, contact (phassa), Foundations of Mindfulness (Satipatthana), Meditation, mind-object (Dhammarammana), tangible object (photthabba), thought (Vitakka)

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=93