Ibrahim, M., & อิบรอฮีม, <. (2011, February 28). Evaluation of Teaching Performance of Arabic Language Teachers Using Integrated Curriculum for Secondary Schools (ICSS/KBSM), at National Islamic Secondary Schools in Malaysia (NISS/SMKA)
การประเมินการปฏิบัติงานสอนของครูผู้สอนภาษาอาหรับที่ใช้หลักสูตรบูรณาการสําหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา(ICSS/KBSM) ในโรงเรียนมัธยมศึกษาอิสลามแห่งชาติ มาเลเซีย(NISSSMKA). Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 17(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=840.

Evaluation of Teaching Performance of Arabic Language Teachers Using Integrated Curriculum for Secondary Schools (ICSS/KBSM), at National Islamic Secondary Schools in Malaysia (NISS/SMKA)
การประเมินการปฏิบัติงานสอนของครูผู้สอนภาษาอาหรับที่ใช้หลักสูตรบูรณาการสําหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา(ICSS/KBSM) ในโรงเรียนมัธยมศึกษาอิสลามแห่งชาติ มาเลเซีย(NISSSMKA)

Mohamed Dahab Ibrahim, Department of Arabic Language, Faculty of Liberal Arts and Social Sciences, Yala

มุฮัมมัด ดาฮับ อิบรอฮีม, สาขาวิชาภาษาอาหรับ, คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

Abstract

The purposes of this research were: a) to evaluate the teaching performance of Arabic language teachers, using Malaysia’s Integrated Curriculum for Secondary Schools (ICSS/ KBSM), at the National Islamic Secondary Schools in Malaysia (NISS/SMKA), b) to determine high, moderate, and low levels of teaching performance of Arabic language teachers, c) to examine the teachers’ performance in Arabic language outside the classroom, and d) to examine teachers’ performance in Arabic language through the Standard Lesson Plan Records (SLPR), and marking of students-works (exercise-books). The Instruments used included; questionnaire for teachers and school principals, observations for the researcher, and school-documents. To analyze the data, following techniques were used: SPSS, ANOVA, Ranks, normal frequencies and percentages (NFP). The results were; for “teaching performance”: 1) almost all teachers (n=30) performed good in all the 6 categories under pre-teaching, accept on “teacher revises previous lesson before starting a new one” 6(20%) of them performed satisfactorily; 2) majority of teachers performed good in all 22 categories under teaching, except on “variation of classroom activities”, “efficient use of time”, “interaction with students”, performed satisfactorily, and poorly in “use of variety of teaching aids”; 3) majority of teachers performed excellent in all 9 categories under personal characteristics, except on “command of Arabic language”, “Arabic speaking skills”, and “Arabic writing skills” performed poorly; 4) majority of teachers performed good in all 3 categories under post-teaching & evaluation, except on “providing drill at the end of lesson” and “achieving the objective of lesson”, performed poorly; 5) some teachers used traditional method, and (6) more than half 17(56.7%) of teachers do not teach according to student-centered approach.

Keywords: Arabic language, classroom observation instrument (COI), integrated curriculum, teaching model, teaching performance

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินการสอนของครูผู้สอนภาษาอาหรับที่ใช้หลักสูตรบูรณาการสำหรับ โรงเรียนมัธยมศึกษา (ICSS/KBSM) ในโรงเรียนมัธยมศึกษาอิสลามแห่งชาติมาเลเซีย (NISSSMKA) 2) เพื่อกำหนด ระดับการปฏิบัติงานสอนของครูผูส้ อนภาษาอาหรับโดยแบง่ เปน็ ระดับสูง กลาง และต่ำ 3) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานสอน ภาษาอาหรับนอกห้องเรียนของครู และ 4) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานสอนภาษาอาหรับของครูผู้สอนด้วยแบบบันทึก แผนการสอนมาตรฐาน (SLPR) และการให้คะแนนในหนังสือแบบฝึกหัด เครื่องมือการวิจัยที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สำหรับครูผูส้ อนและผูอ้ ำนวยการโรงเรียน การสังเกตการณโ์ ดยผูวิ้จัย และเอกสารตา่ งๆ ของโรงเรียน สว่ นการวิเคราะห์ ข้อมูล ผู้วิจัยใช้โปรแกรม SPSS วิเคราะห์ค่า ANOVA ค่าจัดลำดับ ค่าความถี่ปกติ และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ใน “การปฏิบัติงานสอน” คือ 1) ครูเกือบทั้งหมดจากจำนวน 30 คนปฏิบัติงานสอนอยูใ่ นระดับดีทั้ง 6 กลุม่ ในสว่ นกิจกรรม ก่อนการสอน ยกเว้น “ครูที่ทบทวนบทเรียนมาก่อนที่จะสอนครั้งต่อไป” จำนวน 6 คน หรือ 20% ปฏิบัติงานสอนอยู่ใน ระดับนา่ พอใจ 2) ครูสว่ นมากปฏิบัติงานสอนอยูใ่ นขั้นดี ทั้ง 22 กลุม่ ยกเวน้ “ความหลากหลายของกิจกรรมในหอ้ งเรียน” “การใชเ้ วลาอยา่ งมีประสิทธิภาพ” และ “การปฏิสัมพันธก์ ับนักเรียนที่แสดง” ที่อยูใ่ นระดับนา่ พอใจ และอยูใ่ นขั้นปรับปรุง ในกรณีของ “การใชสื้่อการสอนที่หลากหลาย” 3) ครูสว่ นมากปฏิบัติงานสอนอยูใ่ นระดับ ดีเยี่ยมทั้ง 9 กลุม่ ดา้ นบุคลิกภาพ สว่ นตัว ยกเวน้ “ความชำนาญทางภาษาอาหรับ” “ทักษะการพูดภาษาอาหรับ” และ “ทักษะการเขียนภาษาอาหรับ” ที่อยู่ ในระดับตอ้ งปรับปรุง 4) ครูสว่ นมากปฏิบัติงานสอนอยูใ่ นระดับดี ทั้ง 3 กลุม่ ในสว่ นกิจกรรมหลังการสอนและการวัดผล ยกเว้น “การทดสอบหลังการสอน” และ “บรรลุวัตถุประสงค์ของบทเรียน” ที่อยู่ในระดับต้องปรับปรุง 5) ครูบางคนใช้ วิธีการสอนแบบดั้งเดิม และ 6) ครูผูส้ อนมากกวา่ กึ่งหนึ่ง กลา่ วคือ จำนวน 17 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 56.7 ที่ไมไ่ ดส้ อนโดยใช้ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง

คำสำคัญ: การปฏิบัติงานสอน, เครื่องมือการสังเกตการณใ์ นหอ้ งเรียน (COI), ภาษาอาหรับ, รูปแบบการสอน, หลักสูตรบูรณาการ

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=840