แก้วพิมล, ., หมื่นเพชร, ., ชูนวล, ., Keawpimon, <., Muanpech, Y., & Chunuan, S. (2010, December 31). ประสบการณ์การใช้เรกิเพื่อดูแลตนเองของสตรีไทยภาคใต้
Thai Women’s Experience in Using Reiki for Self-care in Southern Thailand. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 16(6). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=820.

ประสบการณ์การใช้เรกิเพื่อดูแลตนเองของสตรีไทยภาคใต้
Thai Women’s Experience in Using Reiki for Self-care in Southern Thailand

ปรียา แก้วพิมล,
ยุพา หมื่นเพชร,
โสเพ็ญ ชูนวล,

Preeya Keawpimon,
Yupa Muanpech,
Sopen Chunuan,

Abstract

The objective of the phenomenological study were to describe and explain Thai women’s experience in using Reiki for self-care. Purposive sampling was used to select 22 women from Songkhla, Satun, Pattani, and Krabi following the inclusion criteria. The data was collected from June 2007 to August 2008 by means of in-depth interviews, non-participation observing, and field notes. Van Manen’s method was applied to analyze data. Lincoln and Guba’s model was utilized to ensure the trustworthiness of the study. The finding revealed that Thai women’s experience in using Reiki for self-care included: 1) living with body-mind discomfort, 2) informed about Reiki by closed people, learners want to try out, and Reiki masters encourage to try out, 3) knowing Reiki as higher energy: energy of good deeds, energy of prolonging mind, and energy of spiritual life force, 4) integrating Reiki with old beliefs and applying Reiki based on personal health problem, and 5) realizing positive outcomes; restoring physical health, relaxed and quiet mind, and find out new way to see world. Factors influenced self-Reiki use in Thai women were: 1) Reiki healing isn’t against women’s old belief, 2) convenience to practice, 3) good attitude to Reiki masters, 4) personal awareness on self-care, and 5) the challenge to prove the effect of Reiki to encourage others to use. The finding reflected how Thai women use Reiki for self-care and nurse had initial information to further research and support southern Thai women in using Reiki for self-care.

Keywords: Reiki, self-care, southern Thailand, Thai women

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายและอธิบายประสบการณ์การใช้ เรกิเพื่อดูแลสุขภาพตนเองของสตรีไทย เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงได้แก่กลุ่มสตรีที่ใช้เรกิเพื่อดูแลสุขภาพ ตนเองจำนวน 22 คนที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดสงขลา สตูล กระบี่ ปัตตานี เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2550 ถึง เดือนสิงหาคม 2551 โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม และการบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการประยุกต์วิธีของแวนมาเนน และตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลตามแนวทางของลินคอล์นและ กูบา ผลการวิจัยแสดงประสบการณ์การใช้เรกิประกอบด้วย 1) อยู่อย่างไม่สุขสบายกายจิต 2) ผู้ใกล้ชิดบอกต่อ ผู้เรียนอยากลอง และผู้ถ่ายทอดเรกิให้โอกาสทดลอง 3) เรกิคือพลังแห่งเบื้องบน: พลังบุญ พลังยึดเหนี่ยวทางใจ และพลังชีวิตแห่งจักรวาล 4) การผสมผสานเรกิกับความเชื่อเดิมและประยุกต์ใช้ตามปัญหาสุขภาพส่วนบุคคล และ 5) ตระหนักถึงผลดีของการใช้: ฟื้นฟูกาย ผ่อนคลายจิตสงบ พบมุมมองใหม่ในชีวิต ปัจจัยส่งเสริมการใช้เรกิ ประกอบด้วย 1) การบำบัดด้วยเรกิไม่ขัดแย้งกับความเชื่อเดิม 2) ความสะดวกในการทำเรกิให้ตนเอง 3) ความรู้สึก ที่ดีต่อผู้ถ่ายทอด 4) ความตระหนักในการดูสุขภาพส่วนบุคคล และ 5) ความท้าทายในการพิสูจน์ผลเพื่อให้ผู้อื่น หันมาฝึกเรกิเพื่อดูแลตนเอง ผลการวิจัยสะท้อนการใช้เรกิเพื่อดูแลตนเองในสตรีภาคใต้และพยาบาลมีข้อมูลใน การวิจัยต่อเนื่องและการสนับสนุนการใช้เรกิเพื่อดูแลตนเองของสตรี

คำสำคัญ: การดูแลตนเอง, ภาคใต้ประเทศไทย, เรกิ, สตรีไทย

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=820