ศรีเทพ, ., รุ่งตะวันเรืองศรี, ., กิตติธรกุล, ., Srithep, <., Roongtawanreongsri, S., & Kittitornkul, . (2010, December 3). การพัฒนาหลักสูตรสาระท้องถิ่นเรื่องวิถีชีวิตชุมชนลำสินธุ์ โดยการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนวัดเกษตรนิคม ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
Local Curriculum Development on Lamsin Community Way of Life with Participation between Community and School: A Case Study of Watkasetnikom School, Tambon Lamsin, Amphoe Srinagarindra, Changwat Phatthalung. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 16(5). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=799.

การพัฒนาหลักสูตรสาระท้องถิ่นเรื่องวิถีชีวิตชุมชนลำสินธุ์ โดยการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนวัดเกษตรนิคม ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
Local Curriculum Development on Lamsin Community Way of Life with Participation between Community and School: A Case Study of Watkasetnikom School, Tambon Lamsin, Amphoe Srinagarindra, Changwat Phatthalung

บุษบา ศรีเทพ, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เสาวลักษณ์ รุ่งตะวันเรืองศรี, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เยาวนิจ กิตติธรกุล, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Bootsaba Srithep, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Saowalak Roongtawanreongsri, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Jawanit Kittitornkul, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University

Abstract

This research is a participatory action research. The purposes of this participatory action research were to study the process and to construct a local curriculum on Lamsin Community Way of Life with participation between local community people and school, and to study achievements of the students using the curriculum. The research focused on two target groups: the first was those who participate in constructing the curriculum, comprising 22 people in the community and the second group comprising 103 from 3 classrooms of Prathomsuksa 4 to 6 students, which were purposively selected in semester 2007. Both qualitative data and quantitative data were used in the study. The research involved 4 steps: 1) study background information, 2) plan and construct a curriculum, 3) use the curriculum, and 4) assess the curriculum. The research tools included: 1) a knowledge understanding test, 2) an attitude test, and 3) a curriculum satisfaction assessment. The results of the integration process were on students, their knowledge and understanding after using the curriculum were higher at a significant level of .05 confident level. They had a positive attitude toward community. Students in Prathom 4, 5, and 6 were very satisfied, highly satisfied, and very satisfied respectively with the curriculum and the teacher and people were very satisfied with the curriculum.

Keywords: Lamsin community, Lamsin community way of life, local curriculum development, participation between community and school

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลที่ได้รับจากการดำเนินการ พัฒนาหลักสูตรสาระท้องถิ่นเรื่องวิถีชีวิตชุมชนลำสินธุ์ระหว่างชุมชนกับโรงเรียน และศึกษาผลการเรียนรู้ ที่เกิด จากการพัฒนาหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เข้าร่วมจัดทำหลักสูตร จำนวน 22 คน และกลุ่มทดลองใช้ หลักสูตร คือ นักเรียนโรงเรียนวัดเกษตรนิคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 3 ห้องเรียน จำนวน 103 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง โดยใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ มีขั้นตอน การวิจัย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2) การวางแผนและจัดกระบวนการพัฒนาหลักสูตร 3) การนำ หลักสูตรไปจัดการเรียนการสอน 4) การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ ความเข้าใจของนักเรียน 2) แบบวัดเจตคติ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียน และวิทยากรชุมชน ผลการจัดการเรียนการสอน พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านเจตคติ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อชุมชนลำสินธุ์ ด้านความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่มีต่อหลักสูตรอยู่ ในระดับมาก มากที่สุดและมาก ตามลำดับ ความพึงพอใจของครูและวิทยากรชุมชนที่มีต่อหลักสูตรอยู่ในระดับมาก คำสำคัญ: การพัฒนาหลักสูตรสาระท้องถิ่น, การมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับโรงเรียน, ชุมชนลำสินธุ์, วิถีชีวิต ชุมชนลำสินธุ์

คำสำคัญ:การปฏิบัติการสอน, นิสิตครู, บทบาทหน้าที่ของอาจารย์นิเทศก์

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=799