วงศ์พุทธ, ., จิตร์จำนงค์, ., กาญจนทัต, ., Wongphut, <., Chitchamnong, D., & Karnchanathat, N. (2010, November 8). สำนึกทางสังคมในนวนิยายไทยช่วงปี พ.ศ.2520-2547
Social Awareness in Contemporary Thai Novels (1977-2004). Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 16(4). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=785.

สำนึกทางสังคมในนวนิยายไทยช่วงปี พ.ศ.2520-2547
Social Awareness in Contemporary Thai Novels (1977-2004)

ทำนอง วงศ์พุทธ, ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ดวงมน จิตร์จำนงค์, ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นฤมล กาญจนทัต, ภาควิชาภาษาตะวันตก, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Thamnong Wongphut, Department of Thai,Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla
Duangmon Chitchamnong, Department of Thai,Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla
Narumon Karnchanathat, Department of Western Languages, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prin

Abstract

This article is intended to study 19 outstanding novels of social consciousness during the year 1977 to 2004. It is found that the distinctive common theme of these novels of the three decades was cultural criticism and opposing the prevailing unhealthy paradigm of thought. To achieve this aim the novelists encourage readers’ thoughtful examination to distinguish between real values and illusion through experience of individuals who may have insignificant social status. Moreover, the novelists raise our consciousness of the fact that in this materialistic context, we have lost certain value especially the values that reinforce virtues through the way of thinking that enhances the co-existence between man and man as well as between man and nature. Part of the philosophical content of these novels reveals in-depth analysis of human nature which can not be classified as black and white, or as actors and those being acted upon. Thus, their outstanding view is that man is both the cause of problems and the provider of solution. Some of the philosophical novels raise an awareness of the value of life and the real meaning of humanness in order to create the power of wisdom necessary in the fight against the captivation of made-up things, particularly in the capitalistic system of the borderless world which becomes more and more a powerful intellectual trap. The awareness of the evil and complexity of problems in the real world is the source of the consensus that the solution of such great problems lies in the restoration of our cultural capital that used to provide and sustain social strength which is the root of the rural culture and the spiritual of Buddhism.

Keywords: contemporary Thai novels, social awareness

บทคัดย่อ
บทคัดย่อ บทความนี้ มุง่ ศึกษานวนิยายแหง่ ความสำนึกเชิงสังคมในชว่ งป ีพ.ศ. 2520-2547 ที่มีความโดดเดน่ จำนวน 19 เรื่อง ผลการศึกษาปรากฏว่า นวนิยายในช่วงเวลาร่วม 3 ทศวรรษนี้ มีเนื้อหาทางความคิดที่โดดเด่นคือ การวิพากษ์วิจารณ์ วัฒนธรรมต่อต้านระบบความคิดที่ครอบงำสังคม โดยใช้วิธีการทางวรรณศิลป์กระตุ้นการพินิจแยกแยะคุณค่าที่จริง แท้กับภาพลวงตาอย่างฉาบฉวยผ่านประสบการณ์ของบุคคล ซึ่งอาจจะไม่ได้มีสถานะสำคัญทางสังคม ในอีกด้านหนึ่ง นักประพันธก์ ็ไดก้ ระตุน้ เตือนใหต้ ระหนักวา่ ในทา่ มกลางบริบทของความเจริญทางวัตถุเราตอ้ งสูญเสียคุณคา่ บางอยา่ ง โดยเฉพาะคุณค่าที่เสริมสร้างคุณธรรมด้วยวิธีคิดที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันทั้งระหว่างมนุษย์กับมนุษย์และมนุษย์กับ ธรรมชาติ ขณะที่สว่ นหนึ่งของเนื้อหาทางปรัชญาแสดงการวิเคราะหป์ ญั หาอยา่ งดิ่งลึกลงสูธ่ รรมชาติภายในของมนุษย์ ซึ่งไมอ่ าจแบง่ แยกเปน็ ภาพขาวดำระหวา่ งผูก้ ระทำกับผูถู้กกระทำ ทัศนะตอ่ มนุษยใ์ นฐานะที่เปน็ ทั้งมูลเหตุแหง่ ปญั หา และผูใ้ หท้ างออกจึงเปน็ แนวคิดที่โดดเดน่ นวนิยายเชิงปรัชญาบางเรื่องใชก้ ารกระตุน้ ความสำนึกตอ่ คุณคา่ ของชีวิต และความหมายที่แทข้ องความเปน็ มนุษยเ์ พื่อสรา้ งพลังความรูเ้ ทา่ ทันที่จักตา้ นทานความลุม่ หลงในสิ่งสมมุติ โดยเฉพาะ ในระบบทุนนิยมของโลกไร้พรมแดนที่นับวันยิ่งทวีอำนาจจนกลายเป็นกับดักทางสติปัญญา ความตระหนักถึงความ เลวร้ายและความซับซ้อนของปัญหาในโลกของความเป็นจริง เป็นที่มาของทัศนะที่เห็นพ้องกันว่าทางออกของปัญหา ใหญ่หลวงเช่นนี้ก็อยู่ที่การกอบกู้ทุนทางวัฒนธรรมที่เคยสร้างความเข้มแข็งและจรรโลงสังคมอดีต นั่นก็คือรากของ วัฒนธรรมชนบทและแสงสว่างทางปัญญาของพุทธศาสนา

คำสำคัญ: นวนิยายไทยร่วมสมัย, สำนึกทางสังคม

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=785