แย้มจอหอ, ., กิตติธรกุล, ., ชูสุข, ., Yamchoho, <., Kittitornkool, J., & Chosook, C. (2010, October 15). กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและสังคมของกลุ่มแกนนําเยาวชนตําบลลําสินธุ์
กิ่งอําเภอศรีนครินทรจังหวัดพัทลุง

The Development of Learning Processes for Developing Social and Life Skills of a Core - Team Youth Group in Lamsin Sub-district, King Amphoe Srinagarindra, Phatthalung Province. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 16(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=772.

กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและสังคมของกลุ่มแกนนําเยาวชนตําบลลําสินธุ์
กิ่งอําเภอศรีนครินทรจังหวัดพัทลุง

The Development of Learning Processes for Developing Social and Life Skills of a Core - Team Youth Group in Lamsin Sub-district, King Amphoe Srinagarindra, Phatthalung Province

วิไลรัตน์ แย้มจอหอ, สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดสุพรรณบุรี
เยาวนิจ กิตติธรกุล, คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชนิษฎา ชูสุข, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Wilairat Yamchoho, Natural Resources and Environmental Office, Suphan Buri Province
Jawanit Kittitornkool, Faculty of Technology and Environment, Prince of Songkla University
Chanisada Chosook, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University

Abstract

This action research aims to develop learning processes for the development of social and life skills of the core-team youth at Lamsin Sub-district, King Amphoe Srinagarindra, Phatthalung Province; and to study the outcomes, as well as factors facilitating and obstructing the processes. The target group is comprised of 42 core youths with the age of 12-20 years selected with certain criteria, particularly those who volunteered to participate and develop themselves. The qualitative research methods entail participant observation, interview, brain storming, and focus group; together with quantitative research methods, including pre- and post-test assessments of social and life skills. The data analysis is based on descriptive statistics. The development of the learning processes is comprised of the following five steps: 1) a survey of the youth’s problems and needs, 2) an orientation of the core-team youth group, 3) planning and preparing the learning activities, 4) the implementation, and 5) a wrap-up, as well as the assessment and follow-up of the youth’s development. Beginning with the activities for developing self-understanding, then linking to the understanding about the society, the twelve activities were organized for the integrative development of three social and life skills: self awareness, self esteem and empathy skills, respectively. Factors facilitating the learning processes are: the community capital, active participation in the research process of the research team members and its alliance, potential of the facilitators. Obstructing factors are: the youth’s responsibility, the researcher’s limitation in terms of personality, language and communication, and urban influence into the community.

Keywords: core-team youth, development, learning processes, Phatthalung, social and life skills

บทคัดย่อ
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เปน็ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนศึกษาผลเบื้องตน้ ที่เกิดขึ้น และปัจจัยที่เอื้อและเปน็ อุปสรรคตอ่ กระบวนการเรียนรู้พื่อพัฒนาทักษะชีวิตและสังคมของกลุ่มแกนนำเยาวชน ตำบลลำสินธุ์ กิ่งอำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง กลุม่ เป้าหมายคือ แกนนำเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 12- 20 ปี จำนวน 42 คน ซึ่งใช้เกณฑ์การคัดเลือก จำนวน 10 ข้อ โดยมุ่งเน้นความสมัครใจเข้าร่วมในกระบวนการวิจัย และความต้องการพัฒนา ศักยภาพของตนเองเป็นหลัก วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การระดมสมอง การสนทนากลุ่มย่อยและการจัดเวทีการเรียนรู้ และเสริมด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ การใช้แบบวัด ทักษะชีวิตและสังคมก่อนและหลังการเข้าร่วมกระบวนการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของเยาวชน 2) การเตรียมกลุ่มแกนนำเยาวชน 3) การวางแผนและเตรียมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ 5) การสรุปผล การประเมิน และติดตามผล กิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 12 กิจกรรม เป็นการพัฒนาทักษะชีวิตและสังคม เชิงบูรณาการ จำนวน 3 ทักษะ โดยเริ่มตน้ จากการเข้าใจตนเองแลว้ เชื่อมโยงสู่สังคมได้แก่ ทักษะการตระหนักรู้ได้ด้วยตนเอง ทักษะด้านความภาคภูมิใจในตนเอง และทักษะด้านการเข้าใจผู้อื่น ปัจจัยที่เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ ทุนชุมชน การมีส่วนร่วมของทีมวิจัยและภาคี และความสามารถของวิทยากร และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการวิจัย คือ ภาระ หน้าที่ของแกนนำเยาวชน บุคลิกภาพ ภาษา และการสื่อสารของผู้วิจัย และกระแสสังคมและวัฒนธรรมความเป็นเมือง

คำสำคัญ: การพัฒนา, กระบวนการเรียนรู้, กลุ่มแกนนำเยาวชน, ทักษะชีวิตและสังคม, พัทลุง

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=772