รอดไฝ, ., คูหา, ., เชิงเชาว์, ., Rodfai, <., Kuha, A., & Churngchow, C. (2010, September 7). ผลของการเขียนบันทึกการเรียนรู้ต่างชนิดที่มีต่อผลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานและความคงทนของการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Effects of Using Differential Learning Logs on Basic Science Achievement and Learning Retention of Mattayomsuksa Four Students. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 16(2). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=755.

ผลของการเขียนบันทึกการเรียนรู้ต่างชนิดที่มีต่อผลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานและความคงทนของการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Effects of Using Differential Learning Logs on Basic Science Achievement and Learning Retention of Mattayomsuksa Four Students

เครือวัลย์ รอดไฝ, ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว,คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อริยา คูหา, ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว,คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชิดชนก เชิงเชาว์, ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Kreywan Rodfai, Department of Psychology and Guidance, Faculty of Education, Prince of Songkla U
Ariya Kuha, Department of Psychology and Guidance, Faculty of Education, Prince of Songkla U
Chidchanok Churngchow, Department of Educational Evaluation and Research,Faculty of Education, Prince o

Abstract

The purposes of this research were 1) to study the learning achievement on the Basic Science between the Pretest-Posttest scores by using different learning logs 2) to compare the learning achievement on the Basic Science by using different learning logs i.e., the Personal Journals and the Notepading 3) to compare the learning retention of the students by using different learning logs. The samples were 60 Mattayomsuksa Four Students in the first semester of academic year 2007 from Promkiripittayakom school, Nakhon Si Thammarat province. They were classified into 2 experimental groups of 30 students each. The instruments included the Basic Science Test with .94 of reliability, 8 lesson plans by using the Personal Journal and the Notepading, The statistical pattern, based on the analysis of mean, standard deviation and t-test. The studying’s results indicated that: 1) After treated with the learning log the students showed higher Basic Science achievement at a significant level of .01 2) The students treated with the Personal Journal (38.07, 30.13 respectively) produced higher Basic Science achievement at a significant level of .01 3) The students treated with different learning logs showed the learning retention differently at a significant level of .01

Keywords: the Notepading, the Personal Journals

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานก่อนและหลังการเรียน โดยใช้การเขียนบันทึกการเรียนรู้ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานหลังการเรียนโดย ใช้การเขียนบันทึกการเรียนรู้ประเภทส่วนบุคคล และประเภทการเขียนบันทึกอนุทิน 3) เพื่อเปรียบเทียบความคงทน ของการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้การเขียนบันทึกการเรียนรู้ต่างชนิดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 ของโรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 60 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 2 กลุ่มๆ ละ 30 คน เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่มีค่าความเชื่อมั่น .94 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเขียนบันทึกการเรียนรู้ประเภทส่วนบุคคล 8 แผน และแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเขียนบันทึกการเรียนรู้ประเภทการเขียนบันทึกอนุทิน 8 แผน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติหาค่ามัชฌิมเลขคณิตและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบคะแนนผลสัมฤทธิ์โดยใช้ t-test ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการเขียนบันทึกการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนแตกกต่างกันก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนที่เรียนโดยใชบั้นทึกการเรียนรู้ประเภท สว่ นบุคคล (38.07) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่ากลุ่มที่เรียนโดยใช้การบันทึกการเรียนรู้ประเภทบันทึกอนุทิน (30.13)แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนที่เรียนโดยใชก้ ารเขียนบันทึกการเรียนรู้ต่างชนิดกันมี ความคงทนในการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานหลังเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

คำสำคัญ: การเขียนบันทึกการเรียนรู้ประเภทการเขียนบันทึกอนุทิน, การเขียนบันทึกการเรียนรู้ประเภท ส่วนบุคคล

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=755