รัตนคช, ., & Rattanakoch, <. (2010, August 3). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุนที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
The Relationship between Demographic Factors and Quality of Work Life and Organizational Commitment of Supporting Staff at Prince of Songkla University, Pattani Campus. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 16(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=725.

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุนที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
The Relationship between Demographic Factors and Quality of Work Life and Organizational Commitment of Supporting Staff at Prince of Songkla University, Pattani Campus

อิสราภรณ์ รัตนคช, งานการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

Isaraporn Rattanakoch, Personnel Unit, President Office , Prince of Songkla University, Pattani Campus

Abstract

Abstract The purpose of this research was to examine the quality of work life and organizational commitment of the supporting staff at Prince of Songkla University (PSU), Pattani campus, the relationship between the demographic factors and the staff’s organizational commitment, and the relationship between the quality of work life of the staff and their organizational commitment. 313 supporting staff of PSU participated in this study. The data was using a questionnaires. The statistics for data analysis included percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and Chi-Square.The findings were as follows : 1) The staff’s work-life quality was found at the moderate level in most aspects, except for the aspects regarding the balance between work life and private life and the contentment in work for the organization that has some contribution to the community, which were given relatively high level. 2)There was a high level of the staff’s commitment to the organization. 3) Sex, marital status, workplace and reward were significantly related to organizational commitment at a statistical level of .05. Educational level, job position and birthplace were, significantly related to organizational commitment at .01 level. While the opportunity for job-related training, current address, prior experiences, alumni membership, and extra job had none. 4) There was a positive relationship between the staff’s overall quality of work life and organizational commitment at .01 level of significance, except for the aspect concerning good teamwork that was statistically related to the organizational commitment at .05 level.

Keywords: demographic factors, organizational commitment, quality work life, supporting staff

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานและความผูกพันต่อองค์การและความ สัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ กลุ่มตัวอย่างเป็น บุคลากรสายสนับสนุนที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีจำนวน 313 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพว่า) คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรด้านรายได้และผล ตอบแทนที่เพียงพอและเป็นธรรมด้านสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ ด้านโอกาสในการพัฒนาศักยภาพและใช้ ความสามารถของตนเอง ด้านความก้าวหน้าและความมั่น คงในการทำงาน ด้านความสัมพันธ์อันดีในการทำงานร่วมกันและด้านลักษณะการบริหารอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว และด้าน ความภูมิใจในองค์การที่มีคุณค่าทางสังคมอยู่ในระดับมาก 2) ความผูกพันต่อองค์การอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยส่วน บุคคลด้านเพศ สถานภาพสมรส หน่วยงานที่ปฏิบัติ การได้รับเกียรติบัตร มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ระดับการศึกษาสูงสุด ตำแหน่ง ที่ปฏิบัติงาน ภูมิลำเนา มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลการได้ รับการพัฒนาศึกษาอบรมดูงานเพมิ่ เติมด้านวิชาชีพ ที่อยู่ปัจจุบัน ประสบการณ์ก่อนมาทำงาน การเป็นศิษย์เก่า และการมีอาชีพ เสริม ไมมี่ความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ 4) คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพัน ต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ยกเว้นด้านความสัมพันธ์อันดีในการทำงานร่วมกันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความ ผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05

คำสำคัญ: ความผูกพันต่อองค์การ, คุณภาพชีวิตการทำงาน, บุคลากรสายสนับสนุน, ปัจจัยส่วนบุคคล_

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=725