เกื้อคลัง, ., กิตติธรกุล, ., ชูสุข, ., Kuaklung, <., Kittitornkoo, J., & Choosuk, C. (2010, April 30). กระบวนการพัฒนาเครือข่ายประชาสังคมเพื่อการอนุรักษ์น้ำ: กรณีศึกษาเครือข่ายรักษ์คลอง
อู่ตะเภา จังหวัดสงขลา

The Development Process of Civil Society Networks for Water Conservation : A Case Study of Khlong U-Taphao Network, Songkhla Province. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(6). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=700.

กระบวนการพัฒนาเครือข่ายประชาสังคมเพื่อการอนุรักษ์น้ำ: กรณีศึกษาเครือข่ายรักษ์คลอง
อู่ตะเภา จังหวัดสงขลา

The Development Process of Civil Society Networks for Water Conservation : A Case Study of Khlong U-Taphao Network, Songkhla Province

ฐาปนีย์ เกื้อคลัง, pamiko012@hotmail.com
เยาวนิจ กิตติธรกุล, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชนิษฎา ชูสุข, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Tapanee Kuaklung, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Jawanit Kittitornkoo, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Chanisada Choosuk, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University

Abstract

This qualitative research aims to study the development of the U-Taphao Conservation direction. The research methods include participant and non-participant observations, semi-structured interviews of thirtytwo informants, focus group, and document research. It was found that since B.E. 2544 a number of people concerned about with the canal pollution have formulated the U-Taphao Conservation Network to conserve and restore the three areas of the U-Taphao canal. From B.E. 2544-2547 it has significantly drawn various support from different types of organizations. Factors facilitating its mobilization are as follows: 1) the environmental problems in the canal, 2) strong persistence and dedication of the core-team members ; and 3) the mobilization of a variety of campaigning and learning activities. The obstructing factors include the lack of strategies to mobilize public participation, and the inadequacy of governmental organizations’ law enforcement. The utilization of legal mechanisms was evident in the upstream area, and the promotion of knowledge and awareness of the youth, which was the focus of those in the middle-stream area. Meanwhile, the organization in the downstream area emphasized local traditions. The strategies of promotion the youth’s knowledge and awareness and utilizing local traditions are their future directions.

Keywords: development process, civil society, network, Songkhla, U-Ta Phao Canal, water conservation

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของเครือข่ายรักษ์คลองอู่ตะเภา ผลการดำเนินงาน และการขับเคลื่อนของเครือข่ายรักษ์คลองอู่ตะเภา ปัจจัยที่เอื้อและเป็นอุปสรรค รวมทั้งทิศทางของเครือข่ายรักษ์คลอง อู่ตะเภาในการแก้ไขปัญหาและการอนุรักษ์คลองอู่ตะเภา วิธีการวิจัย ได้แก่ วิธีการสังเกต การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างบุคคลผู้เกี่ยวข้องจำนวน 32 คน การสนทนากลุ่ม และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ในปี พ.ศ. 2544 กลุ่มคนผู้ตระหนักถึงปัญหาของคลองอู่ตะเภาได้รวมตัวกันจัดตั้งเครือข่ายรักษ์คลอง อู่ตะเภา เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูคลองอู่ตะเภา ในปี 2547 องค์กรจากภายนอกได้ให้การสนับสนุนการทำกิจกรรมมากขึ้น ปัจจัยที่เอื้อต่อการขับเคลื่อนเครือข่ายรักษ์คลองอู่ตะเภา ได้แก่ 1) สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของคลอง อู่ตะเภา 2) คุณลักษณะผู้นำที่เป็นผู้มีอุดมการณ์ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน และ 3) การใช้รูปแบบการขับเคลื่อนที่ หลากหลายและต่อเนื่อง อุปสรรคในการขับเคลื่อนเครือข่ายฯ ได้แก่ การขาดวิธีการในการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วม ของภาคประชาชน และหน่วยงานภาครัฐไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ในพื้นที่ต้นน้ำมีการใช้กลไกการควบคุมดูแล เชิงกฎหมายในระดับหนึ่ง และการสร้างความรู้และจิตสำนึกแก่เยาวชน ซึ่งเป็นจุดเน้นของพื้นที่กลางน้ำ ส่วนพื้นที่ ปลายน้ำเน้นกิจกรรมด้านประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น การพัฒนาความรู้และจิตสำนึกของเยาวชนและการใช้ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นทิศทางหลักของเครือข่ายรักษ์คลองอู่ตะเภา

คำสำคัญ: กระบวนการพัฒนา, การอนุรักษ์น้ำ, คลองอู่ตะเภา, เครือข่าย, ประชาสังคม, สงขลา

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=700