การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุที่เกี่ยวกับการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงเนื้อหาวิชาและการจัดการเรียนการสอนวิชาบทอ่านภาษาอังกฤษในสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่เรียนวิชาดังกล่าว จำนวน 275 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับตัวนักศึกษา และความเห็นเกี่ยวกับการอ่านและเกี่ยวกับรายวิชานี้ และแบบทดสอบความสามารถด้านทักษะการอ่าน ซึ่งได้แก่การเดาความหมายของคำจากบริบท การจับความระดับประโยค การจับใจความสำคัญ การจับรายละเอียด การตีความและการอนุมานความ
ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ การอ่านและรายวิชานี้ แต่ใช้เวลาในการอ่านนอกชั้นเรียนน้อยมาก สำหรับความสามารถในการอ่าน พบว่านักศึกษาส่วนมากมีความสามารถในการอ่านในระดับอ่อน ทักษะที่มีความสามารถระดับปานกลางคือ การจับความระดับประโยคและการจับรายละเอียด ทักษะที่มีความสามารถระดับอ่อนคือ การจับใจความสำคัญและการตีความ ทักษะที่มีความสามารถระดับอ่อนมากคือ การอนุมานความและการเดาความหมายของคำจากบริบท จากการเปรียบเทียบระดับความสามารถในการอ่านของนักศึกษาสาขาสังคมศาสตร์ และนักศึกษาสาขามนุษยศาสตร์ โดยการทดสอบผลต่างของค่าเฉลี่ยของทั้งสองกลุ่ม พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยนักศึกษาสาขามนุษยศาสตร์ มีความสามารถสูงกว่าทุกทักษะ
คำสำคัญ : ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ, ปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษ, นักศึกษาในสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
This research was intended to compare the reliability of a multiple true-false test using five scoring methods : MR, Pass-3, Count-2, Count-3 and MTF. Cutting scores of test were determined by Berks method and test reliabilities were determined by Livingstons method.
Samples in this research were undergraduates at the Faculty of Education, Prince of Songkla University enrolled in the course 267-201 Educational Measurement and Evaluation in the semester of the academic year 1999. One hundred and seventy-three subjects were derived form purposive sampling. Instrument for data collection was a multiple true-false test developed to measure the achievement in learning the course 267-201. The test was a 30 item-four-choiced-test on Frequency Distribution, Measure of Central Tendency and Measure of Dispersion. The results of this study were as follows :
1. The reliability of the multiple true-false test using different scoring methods were significantly different at .05 level; Pass-3 method provided lowest reliability when compared with other methods with the exception of MR.
2. The proportion of examinees that were classified as mastery by the multiple true-false test using different scoring methods were significantly different at .05 level. Pass-3 method provided the proportion of mastery learners lower than Count-2 method. There was no difference among other methods.
3. The Phi-correlation coefficient between the results of mastery and nonmastery classification by the multiple true-false test using different scoring methods were positively high and significant at .05 level. It could be concluded that the multiple true-false test using different scoring methods could mostly classify mastery and nonmastery examinees consistently.
Keywords : Criterion-referenced test, multiple true-false test, scoring method, test reliability
Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.