Marohabout, P., Choonpradub, C., Kuning, M., มะโรหบุตร, <., ฉุ้นประดับ, ., & กูนิง, . (2010, May 3). Terrorism Risk Modeling in Southern Border Provinces of Thailand during 2004 to 2005
การสร้างตัวแบบความเสี่ยงจากการก่อการร้ายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยระหว่าง
ปี พ.ศ. 2547- 2548. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(6). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=694.

Terrorism Risk Modeling in Southern Border Provinces of Thailand during 2004 to 2005
การสร้างตัวแบบความเสี่ยงจากการก่อการร้ายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยระหว่าง
ปี พ.ศ. 2547- 2548

Pipop Marohabout, Department Special Investigation, Ministry of Justice
Chamnein Choonpradub, Department of Mathematics and Computer Science, Faculty of Science and Technolog
Metta Kuning, Department of Mathematics and Computer Science,Faculty of Science and Technology

ภิภพ มะโรหบุตร, กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม
จำเนียร ฉุ้นประดับ, ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสง
เมตตา กูนิง, ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสง

Abstract

This study aimed to describe how the risk rate of a terrorist event occurring in the population in southernmost provinces of Thailand depends on specific place and time, using actual data obtained from the Police Region 9 in 2004 and 2005. The outcome is defined as the terrorism incidents at any location in the provinces of Narathiwat, Pattani and Yala, together with the four westernmost districts of Songkla Province. The time, date, month, year and subdistrict where the event took place were recorded. The severity of the consequence of violence was coded as an integer from 1 to 9. The risk rate of events for each subdistrict in a specified period of time was constructed by dividing the total number of events recorded in the subdistrict over the period by the corresponding population resident in the subdistrict in 1000s according to the year 2000 Population Census of Thailand. Grid maps and statistical models were used to investigate the terrorist event rate distributed by location and time. The analytical method called “negative binomial regression” was employed. The finding revealed that the most frequent violent periods were between 8 and 9 pm and the most likely days were Wednesdays and Thursdays. The period effects show a steadily increasing trend in the rate during 2004 stabilizing in 2005. The district effects revealed that terrorism incidents have expanded to the adjacent districts in Songkla. It is suggested that a suitable preventive strategy for reducing the incidence of terrorist events must be implemented in concert with a healing strategy for the victims’ families in this region.

Keywords: terrorism incident, risk rate, severity, southernmost Thai provinces

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่ออธิบายอัตราเสี่ยงการก่อการร้ายในจังหวัดภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยว่า เกิดได้อย่างไร ตามลักษณะของพื้นที่และเวลาของการเกิดเหตุการณ์ โดยใช้ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงจากการบันทึกของสำนักงาน ตำรวจแห่งชาติ (ส่วนหน้า) ภาค 9 ระหว่างปี 2004 ถึง 2005 ตัวแปรตามนิยามเป็นเหตุการณ์ที่เกิดจากการก่อการร้าย ที่เกิดขึ้นในพื้นใดๆ ครอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัด นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และอำเภอทางทิศตะวันตกของจังหวัด สงขลา ข้อมูลที่เกี่ยวของได้ถูกบันทึกเป็น เวลา วันที่ เดือน ปี ประเภทของเหตุการณ์ และสถานที่เกิดเหตุการณ์ ความรุนแรงของเหตุการณ์กำหนดเป็นจำนวนเต็มจาก 1 ถึง 9 อัตราเสี่ยงของเหตุการณ์สำหรับแต่ละตำบลในเฉพาะ ช่วงเวลา หาได้จากจำนวนเหตุการณ์ทั้งหมดที่บันทึกไว้ในแต่ละตำบลตามช่วงเวลา หารด้วยจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ในตำบลต่อประชากร 1000 คน ซึ่งจำนวนประชากรดังกล่าวได้จากการสำมะโนประชากรของประเทศไทย ปี 2543 แผนที่และโมเดลทางสถิติวิเคราะห์ใช้ตัวแบบทวินามวิเศษ ผลการศึกษา พบว่า ช่วงเวลาของการเกิดความรุนแรงบ่อยๆ จะเป็นเวลากลางคืนระหว่าง 2 และ 3 ทุ่ม และ มักจะเป็น วันพุธและวันพฤหัสบดี อิทธิพลของช่วงเวลาชี้ให้เห็นว่าอัตราเสี่ยงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากระหว่าง ปี 2004 ถึง 2005 และอิทธิพลของสถานที่เกิดเหตุการณ์ก่อการร้ายมีการขยายตัวไปยังจังหวัดสงขลา กล่าวโดยสรุป การก่อ การร้ายได้ขยายตัวและแผ่กว้างไปยังอำเภอใกล้เคียงและจะมีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้น กลยุทธ์การป้องเพื่อลดเหตุ ก่อการร้ายจะต้องทำโดยเร่งด่วนและกระทำไปพร้อมๆ กับการให้ความช่วยเหลือเยียวยาแก่ครอบครัวผู้ประสบเหตุใน พื้นที่

คำสำคัญ: ความรุนแรง, จังหวัดชายแดนภาคใต้ตอนล่าง, เหตุการณ์ก่อการร้าย, อัตราเสี่ยง

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=694