จันทรประเสริฐ, ., รอดแรงค้า, ., Juntaraprasert, <., & Roadrangka, V. (2010, February 8). สภาพการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้ที่ 3: สารและสมบัติของสารตามความคิดเห็นของครูวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา
The Current Practice of Teaching and Learning in Strand 3: Matter and Properties of Matter Regarding the Opinions of Elementary Science Teachers. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(5). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=680.

สภาพการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้ที่ 3: สารและสมบัติของสารตามความคิดเห็นของครูวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา
The Current Practice of Teaching and Learning in Strand 3: Matter and Properties of Matter Regarding the Opinions of Elementary Science Teachers

อภิษฐา จันทรประเสริฐ, โครงการผลิตนักวิจัยพัฒนาด้านการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์,
วรรณทิพา รอดแรงค้า, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Apisata Juntaraprasert, The Program to Prepare Research and Development Personnel for Science Education
Vantipa Roadrangka, Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University

Abstract

Abstract This study explores the current practice of teaching and learning in Strand 3: Matter and Properties of Matters regarding the opinions of elementary science teachers. The subjects of this study consisted of twenty elementary teachers from ten large elementary schools in the Second Educational Area, Nonthaburi province. Two teachers from each school were selected by their administrators or academic departments and answered a questionnaire about their opinions of science teaching and learning process, teaching method, educational materials and evaluation in Strand 3: Matter and Properties of Matter. The data was analyzed using frequency and percent. The results showed that 85 percent of the teachers were female and 55 percent of them were 51-60 years old. Moreover, 95 percent of teachers graduated in Bachelor degrees and 40 percent of them had teaching experience for either less than 5 years and more than 15years. The teachers had a variety of opinions about science teaching and learning process, teaching method, educational materials and evaluation. Most of them agreed that their students have knowledge of science, but have different learning abilities. They also disagreed and were unsure if students have prior scientific knowledge. Equal number of teachers agreed and disagreed that students are capable and incabable of managing their own learning in science. Almost all teachers agreed that learning science is a result of the teacher’s explanations. For teaching method, most of the teachers taught by giving examples, practicing exercises and doing experiments. A few teachers taught by using games, models, problem solving, and inquiry. With regard to educational materials, most of the teachers used textbooks, handson materials and laboratory equipment. None of the teachers used transparencies and overhead projectors in the classroom. For evaluation, most of the teachers used performance tasks, multiple choice tests, and open-ended questions. A few teachers used journal writing for evaluation purposes.

Keywords: elementary science teachers’ opinion, properties of matter

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สำรวจความคิดเห็นของครูวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาเกี่ยวกับ สภาพการจัดการเรียนการสอนในสาระการเรียนรู้ที่ 3: สารและสมบัติของสาร ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ที่ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2 จังหวัดนนทบุรี จำนวน 10 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการคัดเลือกโดยผู้บริหาร และฝ่ายวิชาการของแต่ละโรงเรียน ๆละสองคนได้จำนวนครูทั้งหมด 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ความคิดเห็นของครูวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ วิธีสอน สื่อการสอน และการ ประเมินผลการเรียนในสาระการเรียนรู้ที่ 3: สารและสมบัติของสาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ 85 ของครู เป็นเพศหญิง ร้อยละ 55 มีอายุประมาณ 51-60 ปี ร้อยละ 95 จบการศึกษาใน ระดับปริญญาตรี และมีประสบการณ์การสอนวิชาวิทยาศาสตร์น้อยกว่า 5 ปี หรือมากกว่า 15 ปี ในปริมาณที่เท่ากัน คือร้อยละ 40 ในเรื่องกระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ วิธีสอน สื่อการสอน และการประเมินผลการเรียน พบว่า ครูมีความคิดเห็นที่หลากหลายโดยครูส่วนใหญ่เห็นว่านักเรียนมีความรู้วิทยาศาสตร์ แต่มีความสามารถในการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์แตกต่างกัน อีกทั้ง ครูส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยและไม่แน่ใจว่านักเรียนมีความรู้เดิมทางวิทยาศาสตร์ ครูมีทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยในปริมาณเท่า ๆ กันว่านักเรียนมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ด้วยต้นเอง ครูเกือบ ทุกคนเห็นด้วยว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เกิดจากการอธิบายของครูในเรื่องวิธีสอน ครูส่วนใหญ่ใช้วิธีสอนโดย ยกตัวอย่าง ทำแบบฝึกหัด ทำการทดลอง มีครูส่วนน้อยที่สอนโดยใช้เกมส์ ใช้แบบจำลอง ใช้การแก้ปัญหาและการ สืบเสาะหาความรู้ ครูส่วนมากใช้สื่อการสอนคือ หนังสือเรียน สื่อของจริง และอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ไม่มีครูคนใดที่ใช้ แผน่ ใสและเครื่องฉายข้ามศีรษะ สำหรับการประเมินผล ครูส่วนใหญ่ใช้วิธีการประเมินตามสภาพจริงใช้ข้อสอบปรนัย และข้อสอบอัตนัย มีครูส่วนน้อยที่ประเมินโดยให้นักเรียนเขียนอนุทิน

คำสำคัญ: แนวคิดของครูวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา, สารและสมบัติของสาร

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=680