แวอุเซ็ง, ., วาณิชย์ศุภวงศ์, ., ณรงค์รักษาเขต, ., ยี่สุ่นทรง, ., บากา, <., Wae-u-seng, <., Vanitsuppavong, P., Narongraksakhet, I., Yisunsong, A., & Baka, M. (2010, February 8). การจัดการศึกษาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Educational Management of Islamic Private Schools in Three Southern Border Provinces. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(5). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=677.

การจัดการศึกษาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Educational Management of Islamic Private Schools in Three Southern Border Provinces

นิเลาะ แวอุเซ็ง, วิทยาลัยอิสลามศึกษา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต, ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อะห์มัด ยี่สุ่นทรง, ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มูหามัดรูยานี บากา, สำนักผู้ตรวจราชการเขตตรวจราชการที่ 12 กระทรวงศึกษาธิการ

Niloh Wae-u-seng, wniloh@bunga.pn.psu.ac.th
Pongsri Vanitsuppavong, Department of Educational Administration,Prince of Songkla University
Ibrahem Narongraksakhet, Department of Islamic Studies, College of Islamic Studies,
Ahmad Yisunsong, Department of Islamic Studies, College of Islamic Studies,
Mohamadruyani Baka, The Office of Inspector of Region 12, Ministry of Education

Abstract

This study aimed to explore states and problems concerning educational management of 60% government aided Islamic private schools 15(1) in three southern border provinces using system theory framework i.e., schools’ environment, input, states and problems in implementing academic, budget, personnel, and generaladministration affairs, and educational output. The study also attempted to delineate developmental guidelines for the schools. 60 survey forms were filled in by targeted schools and 568 respondents were solicited to complete questionnaires with .96 of registered reliability. The analysis of data was based on descriptive statistics. Connoisseurship approach was organized to reach at guidelines for school development. The results show that schools have strong relation with communities. The school philosophy and vision are to produce well-rounded students with faith-based characteristics and to excel in both academic and religious streams. Rather, school managerial structures, curriculum, and responsibilities of license holders, managers, and principals are in consistent with the prescribed 1999 Education Act. The income relies mainly on government aids. In overall, the schools achieve moderate level of practices in academic, budget, personnel and general administration affairs. The same results are also found in problems concerning these managerial practices. It is recommended that output of educational management be revisited in order to enhance schools’ quality education. Guidelines and procedures in line with system theory are also proposed as framework for the development of Islamic private schools.

Keywords: educational management, Islamic private schools, three southern border provinces, system theory

บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสภาพและปัญหาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลามประเภท 15(1) ที่ได้รับงบอุดหนุน ร้อยละ 60 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยใช้กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีระบบ อันประกอบด้วย สภาพแวดล้อม ปัจจัยนำเข้า สภาพและปัญหาการดำเนินงานด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหาร งานบุคคล และการบริหารทั่วไป และเพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาในโรงเรียนดังกล่าวนี้ เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจสำหรับโรงเรียนจำนวน 60 โรงเรียน และแบบสอบถามซึ่งมีระดับความเชื่อมั่น 96% สำหรับ ครูและผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 568 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและการจัดประชุมผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ข้อเสนอแนวทางการพัฒนา ผลการวิจัยพบว่า โรงเรียนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน โรงเรียนมีปรัชญาและวิสัยทัศน์ คือ เพื่อผลิตผู้เรียนที่มีการพัฒนาบุคลิกภาพในทุกมิติตามหลักศาสนา และเพื่อความเป็นเลิศในการจัดการศึกษาทั้ง ภาคศาสนาและสามัญ โรงเรียนได้กำหนดโครงสร้างการบริหาร หลักสูตร และหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้รับ ใบอนุญาต ผู้จัดการ และครูใหญ่ เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มีรายได้หลักมาจากเงินอุดหนุน การศึกษาของรัฐ มีสภาพและปัญหาการดำเนินงานในด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปในระดับปานกลาง ผลผลิตทางการศึกษาควรได้รับการทบทวนเพื่อพัฒนายและกระดับคุณภาพของโรงเรียน แนวทางและมาตรการการดำเนินงานในแต่ละมิติของทฤษฎีระบบได้นำเสนอไว้เพื่อใช้เป็นกรอบการพัฒนาโรงเรียน เอกชน สอนศาสนาอิสลาม

คำสำคัญ: การจัดการศึกษา, จังหวัดชายแดนภาคใต้, โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=677