โหงนาค, ., ศรีชัย, ., รุ่งตะวันเรืองศรี, ., Hongnak, <., Srichai, N., & Roongtawanreongsri, S. (2009, October 4). กระบวนการบูรณาการรายวิชาต่างๆ เข้าสู่รายวิชารักษ์คลองอู่ตะเภาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 : กรณีศึกษาโรงเรียนพะตงประธานคีรีวัฒน์
The Process of Integrating other Subjects into the Ruk Khlong U-Taphao Course for Mathayomsuksa 4 Students: A Case Study of Patongprathankiriwat School. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=649.

กระบวนการบูรณาการรายวิชาต่างๆ เข้าสู่รายวิชารักษ์คลองอู่ตะเภาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 : กรณีศึกษาโรงเรียนพะตงประธานคีรีวัฒน์
The Process of Integrating other Subjects into the Ruk Khlong U-Taphao Course for Mathayomsuksa 4 Students: A Case Study of Patongprathankiriwat School

พิมพ์ลักษณ์ โหงนาค, khangtawan2@hotmail.com
นัยนา ศรีชัย, คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เสาวลักษณ์ รุ่งตะวันเรืองศรี, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Phimlak Hongnak, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Naiyana Srichai, Faculty of Technology and Environment, Prince of Songkla University
Saowalak Roongtawanreongsri, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University

Abstract

The objectives of this action research were to : investigate the process of integrating other subjects into the course “Ruk Khlong U-Taphao” at Mathayomsuksa 4 level at Patongprathankiriwat School, find factors that facilitate or obstruct the process, and study the impact on the students, teachers and the course. Findings were : the integration of 16 subjects were multidisciplinary; main favorable factors were teachers’ strong motivation and determination as well as administrators’ vision and support whereas unfavorable factors were teachers’ high workloads, and students’ different academic backgrounds. The impact of the integration process on teachers were an increase in the multidisciplinary integration process and skill, positive attitudes towards the conservation of Khlong U-Taphao. Students obtained higher learning outcome at the significant level of 0.05, positive attitudes towards Khlong U-Taphao and on “Ruk Khlong U-Taphao” course, and development in performance skill. Overall, it helps building local curriculum development aiming at the conservation of Khlong U-Taphao.

Keywords: integration process, Khlong U-Taphao, matayoumsuksa 4 student, multidisciplinary integration

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา กระบวนการบูรณาการรายวิชาต่างๆ เข้าสู่รายวิชารักษ์ คลองอู่ตะเภา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพะตงประธานคีรีวัฒน์ ปัจจัยที่เอื้อและเป็นอุปสรรค และผลจากการ บูรณาการผล การศึกษา พบว่า การบูรณาการ 16 รายวิชา ใน 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นแบบสหวิทยาการ ปัจจัย หลักที่เอื้อ คือ แรงจูงใจและความตั้งใจของครู และวิสัยทัศน์และการสนับสนุนจากผู้บริหาร ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค คือ ภาระงานค่อนข้างมากของครู และความรู้พื้นฐานที่ต่างกันของนักเรียน ผลจากการบูรณาการ คือ ครูเกิดเจตคติที่ดี ต่อการอนุรักษ์คลองอู่ตะเภาและมีทักษะในการจัดกระบวนการบูรณาการ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ก่อนและ หลังเรียนต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีทัศนคติที่ดีต่อคลองอู่ตะเภา และพัฒนาทักษะเชิงปฏิบัติการ และรายวิชารักษ์คลองอู่ตะเภา มีจำนวนสาระการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น และเกิดแนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับท้องถิ่น ของโรงเรียนเครือข่ายรักษ์คลองอู่ตะเภา

คำสำคัญ: กระบวนการบูรณาการ, การบูรณาการแบบสหวิทยาการ, คลองอู่ตะเภา, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=649