สุขพันธ์, ., สุวรรณณัฐโชติ, ., มะแส, ., Sukphan, <., Suwannatachote, ., & Masae, A. (2008, October 16). วัฒนธรรมชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ: กรณีศึกษาธนาคารน้ำของชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมดจังหวัดพัทลุง
Community Culture and Natural Resources Management: A Case Study of Water Bank of Tamot Communities in Tamot District, Phatthalung Province. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 14(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=570.

วัฒนธรรมชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ: กรณีศึกษาธนาคารน้ำของชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมดจังหวัดพัทลุง
Community Culture and Natural Resources Management: A Case Study of Water Bank of Tamot Communities in Tamot District, Phatthalung Province

นฤมล สุขพันธ์, ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
รพีพรรณ สุวรรณณัฐโชติ, ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
อาแว มะแส, ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Narumol Sukphan, Department of Educational Foundation, Faculty of Liberal Arts,Prince of Songkla
Rapeepun Suwannatachote, Department of Educational Foundation, Faculty of Liberal Arts,Prince of Songkla
Awae Masae, Department of Agricultural Development, Faculty of Natural resources,Prince of S

Abstract

The objectives of this research was to study the relationship between community culture and natural resource management by using water banks in Tamot sub-district, Tamot district, Patthalung province as a case study. The research employed a qualitative research process in its operation. It was found that people in Tamot community adopted traditional wisdoms of “Muang Fai Hua Na” construction, the concept of dam construction from forest people and the King is ideology that encourage the construction of tribal check dam known as “Fai Maeo”, applied to the creation of their water banks which appeared in 3 forms: temporary, semi-permanent and permanent water banks.. Different forms are applied to different areas to suit their physical conditions. Community culture in Tamot community is composed of 3 main elements: (1) semi-subsistence production systems in which community members formed into several groups in order to negotiate with the capital sector and to exchange their products in a form of organising local markets; (2) social relation systems that characterise kinship relation and elders which bring about peace and harmony in the community; and (3) belief, religion and values systems which are based on an integration of traditional belief and principles of two main religions - Islam and Buddhism - under which religious leaders, especially Buddhist monks have long been involved actively in community development. They jointly established the community organization with local people to serve as the intermediary/middle man to bring together followers of two religions using the community Buddhist temple as the meeting point. These three components played important roles behind the movements to create water banks.

Keywords: check dam, community culture, natural resources management, Sa Pha Lan Wat Tamot, water bank

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้ ธนาคารน้ำของชุมชนตะโหมด จังหวัดพัทลุงเป็นกรณีศึกษา ใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า ชุมชน ตะโหมดได้นำภูมิปัญญาดั้งเดิมของการทำเหมืองฝายหัวนา แนวคิดจากการเรียนรู้วิธีการสร้างทำนบชาวป่า และ แนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ให้สร้างฝายแม้ว มาปรับใช้ในการทำธนาคารน้ำ ซึ่งมี 3 รูปแบบ ได้แก่ ธนาคารน้ำแบบไม่ถาวร ธนาคารน้ำแบบกึ่งถาวร และธนาคารน้ำแบบถาวร แต่ละรูปแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ของสภาพพื้นที่ ส่วนวัฒนธรรมชุมชนภายในชุมชนตะโหมด ประกอบด้วย 1) ระบบการผลิตแบบกึ่งยังชีพ มีการจัดตั้งกลุ่ม เพื่อต่อรองภาคทุน มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตในรูปตลาดนัด 2) ระบบการอยู่ร่วมสัมพันธ์กัน มีลักษณะความสัมพันธ์ ทางเครือญาติ บทบาทของผู้อาวุโสในชุมชนตะโหมดมีส่วนสำคัญที่ทำให้ตะโหมดมีความเป็นชุมชนและอยู่กันอย่างสงบ และสันติ 3) ระบบคุณค่า ศาสนาและความเชื่อ เป็นการผสมผสานระหว่างความเชื่อแบบดั้งเดิมกับศาสนาหลัก คือ ศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม พระสงฆ์มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาชุมชนตะโหมดมาอย่างยาวนานได้ร่วมกับ ชาวบ้านในการจัดตั้งองค์กรชุมชน เพื่อเป็นแกนกลางในการประสานความร่วมมือระหว่างชาวบ้านทั้ง 2 ศาสนา โดย ใช้วัดเป็นสถานที่นัดพบ องค์ประกอบเหล่านี้มีส่วนสำคัญในการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างธนาคารน้ำของชุมชน

คำสำคัญ:การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ, ธนาคารน้ำ, ฝายชะลอน้ำ, วัฒนธรรมชุมชน, สภาลานวัดตะโหมด

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=570