Sittichai, R., Tongkumchum, P., McNeil, N., สิทธิชัย, <., ทองคำชุม, ., & แม็คแนล, . (2008, October 16). Discontinuation among University Students in Pattani
การออกกลางคันของนักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดปัตตานี . Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 14(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=547.

Discontinuation among University Students in Pattani
การออกกลางคันของนักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดปัตตานี

Ruthaychonnee Sittichai, Department of Mathematics and Computer Science,
Phattrawan Tongkumchum, Department of Mathematics and Computer Science,
Nittaya McNeil, Department of Mathematics and Computer Science,

ฤทัยชนนี สิทธิชัย, ภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอร
ภัทราวรรณ ทองคำชุม, ภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอร
นิตยา แม็คแนล, ภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอร

Abstract

This study uses a statistical model to explain the discontinuation of university study at Prince of Songkla University (PSU), Pattani campus in southern Thailand. University records for 6,610 bachelor degree students enrolled between 1999 and 2003 were used. The effects of faculty and religion-gender group on discontinuation rates were analysed by odds ratios, while a logistic regression model was used to determine the joint effects of faculty, year of admission and religion-gender group on discontinuation. The overall discontinuation rate over the five year period was 12%, with the Faculty of Science and Technology having a higher discontinuation rate than the other faculties, particularly for students admitted in 1999. The discontinuation rates were higher for students entering after 2001, with Muslim students having lower drop-out rates than other students. There was no evidence of a drop-out difference between Muslim students entering university from Islamic high schools and those coming from public high schools.

Keywords: logistic regression, odds ratios, southern Thailand, university discontinuation

บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้ได้นำข้อมูลนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2542-2546 จำนวน 6,610 ระเบียนมา วิเคราะห์โดยใชโมเดลทางสถิติ เพื่ออธิบายการออกกลางคันของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี สถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ คือ odds ratios และ logistic regression โดยใช้ odds ratios วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างการออกกลางคันกับ คณะ กลุ่มศาสนา-เพศ ปีการศึกษา และใช้ logistic regression วิเคราะห์อิทธิพลร่วมของตัวแปร คณะ ปีการศึกษา กลุ่มศาสนา-เพศ ต่อการออกกลางคันของนักศึกษาโดยภาพรวมใน 5 ปีที่ผ่านมาพบว่า มีอัตราการออกกลางคันร้อยละ 12 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นคณะที่มีอัตราการออกกลางคันมากกว่าคณะอื่น ๆ โดยเฉพาะในปีการศึกษา 2542 นอกจากนี้ อัตราการออกกลางคันได้เพิ่มสูงขึ้นหลังจากปีการศึกษา 2544 โดยที่นักศึกษามุสลิม มีอัตราการออกกลางคันต่ำกว่านักศึกษากลุ่มอื่น ๆ แต่มีข้อมูลไม่เพียงพอ ที่จะกล่าวว่านักศึกษาที่จบจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม และโรงเรียนมัธยมทั่วไป มีอัตราการออกกลางคัน แตกต่างกัน

คำสำคัญ: การถดถอยลอจิสติก, การออกกลางคันในมหาวิทยาลัย, ภาคใต้ของประเทศไทย, อัตราส่วนออด

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=547