Sittikorn Saksang, . (2007, August 30). สิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540: การต่อสู้เพื่อคำนิยามปรัชญากฎหมายเชิงอุดมคติ
Human Rights Under the Constitution of the Kingdom of Thailand, 1997: Fighting to Get Idealistic Philosophy of Act Meaning. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 13(2). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=429.

สิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540: การต่อสู้เพื่อคำนิยามปรัชญากฎหมายเชิงอุดมคติ
Human Rights Under the Constitution of the Kingdom of Thailand, 1997: Fighting to Get Idealistic Philosophy of Act Meaning

สิทธิกร ศักดิ์แสง
Sittikorn Saksang, คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยตาปี

Abstract

The development of human rights content in the Constitution of the Kingdom of Thailand, 1997 moves toward the importance of quality of life, freedom, and environment. The legal philosophy influencing the constitution writing are nature law, positive law, historical law, sociological jurisprudence, and legal - Buddhism philosophy. This is the victory or success (one level or one occasion) toward the revolution of politic and governance of Thailand. However, the Constitution of the Kingdom of Thailand, 1997 is not completed yet. Some critics, legal theorists called critical legal studies /CLS tell that there is no unity of thinking, various acts is separated in many sections and each of them is not related but it is conflict.

Keywords: Constitution of the Kingdom of Thailand 1997, critical legal studies /CLS, historical law, legal-Buddhism philosophy, sociological jurisprudence

บทคัดย่อ
การพัฒนาเนื้อหาด้านสิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 สู่ประเด็นความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องคุณภาพชีวิต สันติภาพ และสิ่งแวดล้อม โดยปรัชญากฎหมายที่มีอิทธิพลต่อการจัดทำรัฐธรรมนูญฯฉบับนี้ เช่น ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ ปฎิฐานนิยมหรือปรัชญากฎหมายบ้านเมือง ปรัชญากฎหมายประวัติศาสตร์ ปรัชญากฎหมายนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา และปรัชญากฎหมายนิติศาสตร์แนวพุทธ เป็นต้น นับว่าเป็นชัยชนะหรือความสำเร็จ (ในระดับหนึ่ง หรือกาลเทศะหนึ่ง) ต่อการปฏิรูปการเมืองการปกครองของไทย อย่างไรก็ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับนี้ยังไม่สมบูรณ์พร้อม มีผู้วิจารณ์กลุ่มนิติศาสตร์วิพากษ์ถึงความไม่มีเอกภาพ ทางความคิด บทบัญญัติต่าง ๆ ที่แยกกันเป็นส่วน ๆ และแต่ละหมวดไม่สัมพันธ์กันหรือแม้กระทั่งขัดแย้งกัน

คำสำคัญ : กฎหมายประวัติศาสตร์, นิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา,นิติศาสตร์วิพากษ์,ปรัชญากฎหมายพุทธธรรมนิยม, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=429