ล่านุ้ย, ., ละกะเต็บ, ., บำรุงกรณ์, ., สาลี, ., Lanui, <., Lakateb, P., Bumrungkorn, S., & Salee, K. (2007, May 12). คุณสมบัติของบัณฑิตแพทย์ที่สังคมต้องการ: ความเห็นของผู้นำชุมชน ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Expected Qualifications of Medical Doctor: Opinions of Community Leaders in Three Southern Border Provinces.. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 13(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=412.

คุณสมบัติของบัณฑิตแพทย์ที่สังคมต้องการ: ความเห็นของผู้นำชุมชน ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Expected Qualifications of Medical Doctor: Opinions of Community Leaders in Three Southern Border Provinces.

อาหวัง ล่านุ้ย, ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พะเยาว์ ละกะเต็บ, ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สิริรัตน์ บำรุงกรณ์, ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กมลาศ สาลี, ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Awang Lanui, Department of Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince
Payao Lakateb, Department of Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince
Sirirath Bumrungkorn, Department of Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince
Kamalat Salee, Department of Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince

Abstract

The purpose of this research was to study civic acceptance of the doctors in public hospitals, civic satisfaction of services from public hospitals, expected qualifications of medical doctors, and factors influencing the duration of work of the local doctors. The data were collected from interviews with 48 community leaders, all of whom were purposively selected from three different groups: 18 Muslims, 18 Buddhists and 12 Chinese leaders. The study revealed the public satisfaction of the present hospital services. Sexes and educational institutions of the medical doctors did not affect the public use of hospital services. Nor did religious and language differences between the doctors and patients have an impact on the medical services or practices. Yet, there were public concerns regarding time-consuming mandatory processes prior to the receiving of medical treatment, the insufficient medical equipment and qualified doctors with professional ethics and community understanding. Factors effecting the duration of medical practices of the doctors in the local communities involved personal factors, community factors and official procedures.

Keywords: community leaders, main culture, qualification of medical doctors, three southern border provinces

บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับแพทย์ ความพึงพอใจในบริการจากสถานพยาบาลของรัฐ คุณสมบัติของบัณฑิตแพทย์ที่สังคมต้องการ และปัจจัยที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของแพทย์ โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้นำชุมชน 3 กลุ่ม คือ ผู้นำชุมชน มุสลิม 18 คน พุทธ 18 คน และจีน 12 คน ซึ่งคัดเลือกโดยวิธีการแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า สถาบันที่เรียนจบและเพศของแพทย์ไม่มีผลต่อการไปรับบริการ ความแตกต่างด้านศาสนาและภาษาของแพทย์กับผู้ป่วยไม่ได้เป็นอุปสรรคในการให้และรับบริการ สถานพยาบาลของรัฐบริการดีกว่าช่วงที่ผ่านมา แต่สิ่งที่ต้องปรับปรุง คือ ขั้นตอนและระยะเวลารอหน้าห้องตรวจ เครื่องมือ อุปกรณ์ต้องเพียงพอกับปริมาณผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ผู้นำชุมชนต้องการแพทย์ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เข้าใจวัฒนธรรมชุมชน ทำงานเชิงรุก มากกว่าแพทย์ที่เก่งเพียงอย่างเดียว แพทย์ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมมากกว่าด้านอื่นๆ และปัจจัยสำคัญ 3 ประการที่เป็นตัวกำหนดความยั่งยืนในการปฏิบัติงานในพื้นที่ของแพทย์คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยสนับสนุนจากชุมชน และปัจจัยระบบราชการ

คำสำคัญ : คุณสมบัติบัณฑิตแพทย์, ผู้นำชุมชน, วัฒนธรรมหลัก, สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=412