อาภาพรรณ วรรณโชติ, .,
Jarewat Jaroenrup, ., & and Chailert Kitprasert, A. (2006, September 29). หน่วยเสียงต่อเนื่องฐานเพดานแข็งในภาษานครศรีธรรมราช
Palatal Continuants in NakhonSri Thammarat Dialect. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 12(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=375.

หน่วยเสียงต่อเนื่องฐานเพดานแข็งในภาษานครศรีธรรมราช
Palatal Continuants in NakhonSri Thammarat Dialect

จเรวัฒน์ เจริญรูป อาภาพรรณ วรรณโชติ, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
ชัยเลิศ กิจประเสริฐ
Jarewat Jaroenrup,
Apapan Wannachot and Chailert Kitprasert,

Abstract

This research aimed to study the phonetic features, distribution, and patterns of merger of initial palatal continuants in Nakhon Sri Thammarat dialect. The development of these palatal continuants was investigated in relation to Proto-Tai palatal initial consonants. The data were elicited from 26 informants representing 26 sub-areas in Nakhon Sri Thammarat province. Nakhon Sri Thammarat dialect had two palatal continuant phonemes: /j/ - a palatal approximant, found in all 26 areas and co-occurring with seven tones; and // - a palatal nasal, found only in 22 areas and co-occurring with five tones. In some cases initial // occurred in free variation with /j/. Nakhon Sri Thammarat palatal continuants developed from four Proto-Tai phonemes: *h, *?j, *j and *, represented by the graphemes หญ อย ย and ญ, respectively. Three patterns of merger were identified; 1) *?j and *j merged together and became /j/ while *h merged with * and became either // or /j/ or // ~ /j/; 2) *?j, * and *j became the modern /j/ while *h became either // or /j/ or // ~ /j/; 3) the four Proto-phonemes *h, *?j, * and *j became the modern /j/

Keywords: dialect, Nakhon Sri Thammarat dialect, palatal approximants, Proto-Tai

บทคัดย่อ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางสัทศาสตร์ การกระจายและรูปแบบ การรวมตัวของหน่วยเสียงพยัญชนะต้นต่อเนื่องฐานเพดานแข็งในภาษาถิ่นย่อยของภาษานครศรีธรรมราชโดยเชื่อมโยงกับหน่วยเสียงพยัญชนะต้นฐานเพดานแข็งในภาษาไทดั้งเดิม ในการศึกษาผู้วิจัยแบ่งพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็น 26 เขต และเลือกผู้บอกภาษาเขตละ 1 คน ผลการศึกษาพบหน่วยเสียงต่อเนื่องฐานเพดานแข็งในภาษานครศรีธรรมราช 2 หน่วยเสียง คือ หน่วยเสียงเปิด /j/ ปรากฏในพื้นที่ทั้ง 26 เขต และปรากฏกับวรรณยุกต์ 7 หน่วยเสียง และหน่วยเสียงนาสิก // ปรากฏในพื้นที่ 22 เขต และปรากฏกับวรรณยุกต์ 5 หน่วยเสียง ในบางคำหน่วยเสียงพยัญชนะต้นนาสิก // จะปรากฏแบบแปรอิสระกับหน่วยเสียง /j/ หน่วยเสียงต่อเนื่องฐานเพดานแข็งในภาษานครศรีธรรมราช พัฒนามาจากเสียงพยัญชนะต้นดั้งเดิม 4 เสียง คือ *h, *?j, *j และ * ซึ่งมีรูปเขียน คือ หญ, อย, ย และ ญ ตามลำดับ ลักษณะการกลายเสียงของเสียงดั้งเดิมจำแนกเป็น 3 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 *?j และ *j > /j/ ส่วน *h, * > //หรือ /j/ หรือ //~ /j/ รูปแบบที่ 2 *?j, * และ *j > / j/ ส่วน *h > // หรือ /j/ หรือ //~/j/ และรูปแบบที่ 3 *h, *?j, * และ *j > /j/

คำสำคัญ: ภาษาถิ่น ภาษาไทดั้งเดิม ภาษานครศรีธรรมราช หน่วยเสียงต่อเนื่องฐานเพดานแข็ง

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=375