สนั่น เพ็งเหมือน,, ., ศิริวรรณ วิบูลย์มา, ., Sanan Pengmuan,, ., & Siriwan Wibunma, P. (2006, September 29). การติดตามประเมินผลโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืนโดยการพัฒนาศักยภาพและเชื่อมโยงการทำงานกับเครือข่ายภาคประชาชนในระดับตำบล/ อำเภอ/ จังหวัด ของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
Sustainable Strengthening of Community Potential through the Development of the People Network Project at Tambon (Subdistrict), Amphoe (District) and Changwat(Province) Levels in the Three Southern Border Provinces. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 12(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=371.

การติดตามประเมินผลโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืนโดยการพัฒนาศักยภาพและเชื่อมโยงการทำงานกับเครือข่ายภาคประชาชนในระดับตำบล/ อำเภอ/ จังหวัด ของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
Sustainable Strengthening of Community Potential through the Development of the People Network Project at Tambon (Subdistrict), Amphoe (District) and Changwat(Province) Levels in the Three Southern Border Provinces

มารุต ดำชะอม, สนั่น เพ็งเหมือน,, คณะศึกษาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
ปราณี ทองคำ, ศิริวรรณ วิบูลย์มา, คณะศึกษาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์

Marut Damcha-om, Sanan Pengmuan,,
Pranee Tongkam, Siriwan Wibunma,

Abstract

The purposes of this project evaluation were 1) to evaluate the progressive of project administration 2) to evaluate the outcomes in accordance with the objectives of the project 3) to find out the problems in running the project which implemented in three southern boarder provinces. The sample were 1,237 respondents from 33 pilot districts and sub-districts in 3 provinces. Questionnaires/interview/observation schedules and focus group discussion were used for data gathering. Finding : 1) administration of the project were limited by the time for project preparation, target group screening and activities. People participated every stage of project implementation except financial administration. 2) the outcome of success indicators found that all families target in three provinces income/ person/ year earned more after the project. Again, 3/4 of committee well cooperated with the members of so-or-chor-tho for the process of learning to strengthen people network. 3) the problems in running the project were the rapid implementing and limitation of the poverty concept cause to perform mainly economic activities.

Keywords: community strength, people network, subdistrict cooperation organization center, three southern border provices

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการประเมินโครงการนี้เพื่อ 1) ติดตามความก้าวหน้าการบริหารจัดการ 2) ศึกษาผลการดำเนินงาน ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และ 3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ทำการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,237 คน จากพื้นที่นำร่อง 33 ตำบล 33 อำเภอ ใน 3 จังหวัด โดยใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสังเกตและการสนทนากลุ่ม ผลของการประเมินโครงการ พบว่า 1) การบริหารจัดการโครงการดำเนินการอย่างเร่งด่วน ทำให้มีข้อจำกัดเรื่องการเตรียมการกลั่นกรองกลุ่มเป้าหมายและกิจกรรม ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ยกเว้นการจัดการงบประมาณ 2) ผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการทุกครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ / คน / ปี สูงกว่าก่อนดำเนินการโครงการ คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) 3 ใน 4 ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางประสานงานของกลุ่มองค์กรสมาชิกได้อย่างเต็มที่ 3) ปัญหาอุปสรรคที่พบคือ ความเร่งด่วนและข้อจำกัดด้านแนวคิดความยากจนของโครงการที่มุ่งแต่กิจกรรมด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก

คำสำคัญ: เครือข่ายภาคประชาชน ชุมชนเข้มแข็ง ศอช.ต. 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=371