ประจิตร มหาหิง, .,
Aree Tamkrong, ., & and Kamnuon Kammanee, P. (2006, May 17). ความคิดทางญาณวิทยาของอิมมานูเอล คานต์
Immanuel Kant’s Epistemology. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 11(5). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=342.

ความคิดทางญาณวิทยาของอิมมานูเอล คานต์
Immanuel Kant’s Epistemology

อารีย์ ธรรมโคร่ง ประจิตร มหาหิง,
และ คำนวล คำมณี
Aree Tamkrong,
Prachitr Mahahing and Kamnuon Kammanee,

Abstract

During the 16th –17th centuries western epistemology was characterized by a divistion between two competing schools of thought: rationalism which favors reason or ideas, and empiricism which emphasizes sensory experience. Later, the eighteenth-century German philosopher Immanuel Kant has achieved a transcendence of this conflict of idea, arguing that “thoughts without content are empty” and “intuitions without concepts are blind”. Kant’s synthetic a priori knowledge arises from an integration of rationalism’s a priori knowledge and empiricism’s a posteriori knowledge. However, due to the fact that human knowledge must depend on the synthesizing mind, his knowledge is limited and cannot go beyond his experience in the actual or phenomenal world.

Keyword: a posteriori knowledge, a priori knowledge, phenomena, noumena, synthetic a priori knowledge

บทคัดย่อ
ประมาณคริสตศตวรรษที่ 16-17 ญาณวิทยาตามทัศนะนักปรัชญาตะวันตกแตกออกเป็น 2 สำนักคิด คือ เหตุผลนิยม ซึ่งเชื่อว่าเหตุผลหรือจิตเป็นปฐมฐานแห่งความรู้ของมนุษย์ และประสบการณ์นิยม ซึ่งเชื่อว่าความรู้ผ่านประสาทสัมผัสเท่านั้นเป็นปฐมฐานแห่งความรู้ของมนุษย์ ต่อมาในศตวรรษที่ 18 อิมมานูเอล คานต์ ปรัชญาเมธีชาวเยอรมันได้ประสานแนวคิดที่ไม่ลงรอยกัน โดยโต้ว่า “ความคิดหากปราศจากเนื้อหาก็ว่างเปล่า การรับรู้หากปราศจากมโนภาพก็มืดบอด” คานต์ได้บูรณาการแนวคิดเรื่องความรู้แบบอะพริโอริหรือความรู้ก่อนประสบการณ์ของสำนักเหตุผลนิยมเข้ากับความรู้แบบอะโพสเทอริโอริหรือความรู้หลังประสบการณ์ของสำนักประสบการณ์นิยม เรียกว่า ความรู้อะพริโอริแบบสังเคราะห์ เนื่องจากความรู้ของมนุษย์จำต้องอาศัยกระบวนการแปลความหมายและตีความจากกลไกทางจิต ความรู้ของมนุษย์จึงมีจำกัด ไม่สามารถรู้อะไรเกินกว่าประสบการณ์อันจำกัดอยู่ภายใต้โลกแห่งปรากฎการณ์ได้

คำสำคัญ ความรู้แบบอะโพสเทอริโอริ, ความรู้แบบอะพริโอริ, ปรากฎการณ์, อปรากฎการณ์, ความรู้อะพริโอริแบบสังเคราะห์

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=342