สายโสภา ทองสาย, ., ยุวดี ชายเกลี้ยง, ., และ มะลิวัลย์ มุกดาจารย์, ., Saisopa Tongsai, <., Yuwadee Chaykliang, ., & and Maliwan Mukdacharn, S. (2005, November 29). เชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
Emotional Intelligence of Upper Secondary School Students at Southernmost Border Provinces, Thailand. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 11(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=309.

เชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
Emotional Intelligence of Upper Secondary School Students at Southernmost Border Provinces, Thailand

บัญญัติ ยงย่วน สายโสภา ทองสาย,
ศิริพร พิทักษ์จินดา ยุวดี ชายเกลี้ยง,
สอลีห๊ะ เล๊าะมะ, วรรณา กลางประพันธ์ และ มะลิวัลย์ มุกดาจารย์,

Banyat Yongyuan, Saisopa Tongsai,
Siriporn Pitakjinda, Yuwadee Chaykliang,
Soleeha Laoma, Wanna Glangprapan and Maliwan Mukdacharn,

Abstract

The purposes of this research were 1) to study upper secondary school students’ level of emotional intelligence (EI) in the southernmost border provinces, Thailand 2) to compare the sample’s emotional intelligence on the basis of sex, religion, leader experience, class level, study program and grade point average. The sample consisted of 1,384 upper secondary school students at the southernmost border provinces (Songkla, Pattani, Yala and Narathiwat). The research instrument was the Emotional Intelligence Inventory consisting of 124 question items. The data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. Pairewise differences were established using Scheffe/ ,s method. The finding indicated as follows: 1. About two-thirds (65 percent) of the students had EI at the moderate level,18 percent at the nearly high level and 17 percent at the lower moderate level. 2. The EI of the students were significantly different in variables of sex, leader experience, study program and grade point average. There were no differences in variables of religion and class level. Keywords: Emotional intelligence, Upper secondary school students, Southernmost border provinces.

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาระดับเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) เปรียบเทียบเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำแนกตามตัวแปรเพศ ศาสนา ประสบการณ์การเป็นผู้นำ ระดับชั้น แผนการเรียน และระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) จำนวน 1,384 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดเชาวน์อารมณ์ จำนวน 124 ข้อ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบค่าเอฟ (F-test) และ การทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชพเฟ่ (Scheffe/) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนประมาณสองในสาม (ร้อยละ 65) มีเชาวน์อารมณ์ในระดับปานกลาง ร้อยละ 18 มีเชาวน์อารมณ์อยู่ในระดับค่อนข้างสูง และร้อยละ 17 มีเชาวน์อารมณ์ในระดับต่ำกว่าปานกลาง 2. เชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติตามตัวแปรเพศ ประสบการณ์การเป็นผู้นำ แผนการเรียน และระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญของเชาวน์อารมณ์ในตัวแปรศาสนา และระดับชั้น

คำสำคัญ : เชาวน์อารมณ์ , นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย , จังหวัดชายแดนภาคใต้

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=309