ทวี ทองคำ, .,
Chidchanok Churngchow, ., & and Waranant Ruangpradit, T. (2005, June 8).
A Development of Composite Indicators for Academic Excellence in Education for Graduate Level in Public Universities . Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 11(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=277.


A Development of Composite Indicators for Academic Excellence in Education for Graduate Level in Public Universities

ชิดชนก เชิงเชาว์ ทวี ทองคำ,
และ วรานันท์ เรืองประดิษฐ์
Chidchanok Churngchow,
Thawee Thongkum and Waranant Ruangpradit,

Abstract

This research aims to develop the composite indicators for academic excellence in Education at graduate level in public universities. The samples are the vice presidents for academic affairs, the deans of the Faculty of Education and 279 instructors in Educational program at graduate level in the academic year 2002 from 13 universities and 13 scholars in Educational program at graduate level. The data-collection tool is a questionnaire and the data was analyzed using exploratory and confirmatory factor analysis. The results show that 23 composite indicators for academic excellence in Education at graduate level in public universities have been found for 5 academic excellence factors as follows : 5 indicators for learning and teaching process factor, 4 indicators for research quality factor, 6 indicators for course quality factors, 4 indicators for resource-for-learning factor and 4 indicators for teaching load factor. With regard to the order of the importance of academic excellence factors in Education at graduate level in public universities, learning and teaching process factors, research quality factors, course quality factors, resource-for-learning factors, teaching load factors are arranged respectively. It is recommended that all factors be developed simultaneously. However, the five factors as learning and teaching process, research quality, course quality, resource for learning and teaching loads should be considered more important than the others.

Keywords : academic excellence, composite indicator, graduate studies,public university

บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาตัวบ่งชี้รวมสำหรับความเป็นเลิศ ทางวิชาการสาขาศึกษาศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษา ในมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัย คือ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ คณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์และอาจารย์ที่สังกัดสาขาศึกษาศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษาในปีการศึกษา 2545 จากมหาวิทยาลัยของรัฐทั้ง 13 มหาวิทยาลัย จำนวน 279 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ตัวบ่งชี้รวมของความเป็นเลิศทางวิชาการทั้งหมด 23 ตัวบ่งชี้ และองค์ประกอบความเป็นเลิศทางวิชาการ 5 องค์ประกอบ ซึ่งประกอบด้วย ตัวบ่งชี้องค์ประกอบกระบวนการเรียนการสอน 5 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบคุณภาพผลงานวิจัย 4 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบคุณภาพหลักสูตร 6 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบทรัพยากรการเรียนรู้ 4 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบภาระงานสอนของอาจารย์ 4 ตัวบ่งชี้ สำหรับการจัดลำดับความสำคัญขององค์ประกอบความเป็นเลิศทางวิชาการเรียงตามลำดับจากความสำคัญสูงสุดไปหาความสำคัญต่ำสุด ดังนี้ องค์ประกอบกระบวนการเรียนการสอน องค์ประกอบคุณภาพผลงานวิจัย องค์ประกอบคุณภาพหลักสูตร องค์ประกอบทรัพยากรการเรียนรู้ และองค์ประกอบภาระงานสอนของอาจารย์ ข้อเสนอแนะของการวิจัยครั้งนี้ คือ ควรพัฒนาทุกองค์ประกอบทุกด้านไปด้วยกัน อย่างไรก็ตามควรให้ความสำคัญกับองค์ประกอบ 5 ตัวซึ่งได้แก่ ด้านกระบวนการเรียนการสอน คุณภาพผลงานวิจัย คุณภาพหลักสูตร ทรัพยากรการเรียนรู้ และ ภาระงานสอนของอาจารย์ มากกว่าองค์ประกอบด้านอื่น ๆ

คำสำคัญ : ความเป็นเลิศทางวิชาการ, ดัชนีบ่งชี้รวม, บัณฑิตศึกษา, มหาวิทยาลัยของรัฐ

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=277