ปัทมเรขา, . (2004, December 2). ความสัมพันธ์ของโครงสร้างทางสังคมกับการแพร่กระจายและการยอมรับนวัตกรรม. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 3(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=215.

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างทางสังคมกับการแพร่กระจายและการยอมรับนวัตกรรม

เกรียงศักดิ์ ปัทมเรขา, ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Abstract

สังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยการเปลี่ยนแปลงอาจจะเร็วหรือช้าก็ได้ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมส่งผลให้มนุษย์ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพที่แปรเปลี่ยนไป การประดิษฐ์คิดค้นความรู้ทางวิชาการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ (นวัตกรรม) ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง เพราะข้อมูลหรือข่าวสารต่าง ๆ จะแพร่กระจายเข้าไปในสังคม ทำให้เกิดการยอมรับเทคโนโลยีขึ้น อัตราการแพร่กระจายไม่ว่าจะเป็นไปโดยธรรมชาติหรือเป็นลักษณะของการเหนี่ยวนำก็ตามจะรวดเร็วมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับโครงสร้างทางสังคมจึงอาจกล่าวได้ว่าโครงสร้างทางสังคมมีความสัมพันธ์กับการแพร่กระจายของนวัตกรรม สังคมที่มีบรรทัดฐานทางสังคมที่ทันสมัย การแพร่กระจายจะรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในรูปของการยอมรับตามมาอย่างรวดเร็ว สังคมที่มีบรรทัดฐานทางสังคมที่ล้าหลัง การแพร่กระจายจะช้า การเปลี่ยนแปลงทางสังคมก็จะช้าในทำนองเดียวกัน การศึกษาถึงความรวดเร็วของการแพร่กระจายของนวัตกรรมก็สามารถที่จะทำนายโครงสร้างทางสังคมได้ คำสำคัญ : ความสัมพันธ์ โครงสร้างทางสังคม การแพร่กระจาย การยอมรับ นวัตกรรม A society must change at all time whether quickly Social change an effect on human-beings to the extent they will have to adjust to the new environment. The invention of a new technology (innovation) is one of the causes of social change. When information diffuses through the social it will lead to the adoption of new technologies. The rate of natural diffusion or induced diffusion of information through societies depends upon the social structure. It can be concluded that there is an association between social structure and diffusion of innovations. In a society with modern norms the diffusion rate will be faster leading to faster social change. In a society with traditional norms the diffusion rate will be slower leading to a slower speed of social change. In consequence, a study of the speed of diffusion of innovations can predict the social structure of a social Keywords : association, social structure, diffusion, adoption, innovations

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=215