เวลล์ส, ., & Wells, <. (2015, April 19). วัดกับการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
Temples and the Local Museums Management. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 21(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1111.

วัดกับการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
Temples and the Local Museums Management

ศรีหทัย เวลล์ส, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Srihathai Wells, Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University

Abstract

This paper is based on a study of temples and the local museum management focusing on two museums: Ancient Phaniat Museum, Wat Thong Thua in Chantaburi Province and Wat Buppharam in Trat Province. The significant finding revealed that the local museum is creating a learning model for local people, the museum is performed by the collectors who wanted to keep the antiques for their descendant. Besides, the paper addresses four major obstacles in the management of local museums: 1) no museum officer and a museum scholar has a negative effect on clients’ ability to access knowledge 2) the impossible checking of exist and lost subjects in the museum because of no registration system 3) the unclassified display and the inadequate information of the museum presentation cause on clients’ self-learning environment 4) no preservation and conservation system causes the bad condition on the subjects.

Keywords local museum, museum, museum in Buddhist temple, museum management

บทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษาการด􀃎ำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่ด􀃎ำเนินงานโดยวัด โดยใช้กรณีศึกษา 2 แห่ง ซึ่งได้แก่ พิพิธภัณฑ์โบราณสถานเมืองเพนียด วัดทองทั่ว จังหวัดจันทบุรี และ พิพิธภัณฑ์วัดบุปผาราม จังหวัดตราด จากการศึกษา พบประเด็นที่ส􀃎ำคัญ คือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเป็นการสร้างรูปแบบ การเรียนรู้ของคนในท้องถิ่น โดยร่วมมือกันรวบรวมของเก่าซึ่งล้วนเป็นสมบัติของท้องถิ่นมาเก็บไว้ในอาคารของวัด เพื่อรักษาของเก่าเหล่านั้นไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษาเรื่องราวของท้องถิ่น ในส่วนของการจัดการพิพิธภัณฑ์ของวัดนั้น พบอุปสรรคในการท􀃎ำงาน ดังนี้ 1) การไม่มีเจ้าหน้าที่หรือนักวิชาการประจ􀃎ำพิพิธภัณฑ์ อาจท􀃎ำให้ผู้ชมไม่ได้รับความรู้เกี่ยวกับวัตถุในพิพิธภัณฑ์เพียงพอ 2) การไม่มีระบบทะเบียนและฐานข้อมูลทะเบียนวัตถุของพิพิธภัณฑ์ ท􀃎ำให้การตรวจสอบวัตถุที่มีอยู่หรือสูญหายไปท􀃎ำได้ยาก 3) การจัดแสดงวัตถุ ที่ไม่เป็นหมวดหมู่ และการน􀃎ำเสนอข้อมูลวิชาการ ที่ไม่พอเพียง ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้ชมพิพิธภัณฑ์ 4) การไม่มีระบบการอนุรักษ์และการสงวนรักษาวัตถุ ท􀃎ำให้วัตถุช􀃎ำรุด และเสื่อมสภาพเร็วขึ้น

คำสำคัญ: การจัดการพิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น, พิพิธภัณฑ์วัด

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1111