ศรีพงษ์, ., & Sriphong, <. (2014, October 16). ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานภาคธุรกิจเอกชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส)
Organizational Commitment of Business Employees in the Three Southernmost Provinces (Pattani, Yala, Narathiwat). Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 20(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1086.

ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานภาคธุรกิจเอกชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส)
Organizational Commitment of Business Employees in the Three Southernmost Provinces (Pattani, Yala, Narathiwat)

ชมพูนุท ศรีพงษ์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Chompunuch Sriphong, Faculty of Management Sciences, Yala Rajabhat University

Abstract

Organizational commitment is an important factor of efficient and successful organizations. The objectives of this research were 1) to study the organizational commitment of business employees, 2) to compare the organizational commitment classified by demographical and organizational characteristics, 3) to examine the relationship between job satisfaction,quality of work life and employees’ organizational commitment, and 4) to examine job satisfaction and quality of work life as predicting factors of organizational commitment. The participants were business employees in the three southernmost provinces. The tools used to gather the needed information were a questionnaire for 397 employees and indepth interviews with 20 other employees. The results revealed that the organizational commitment of employees is at a high level. Differences in the organizational characteristics, i.e. type and size of business led to differences in organizational commitment of their employees (p<.05). The findings also showed that both job satisfaction and quality of work life are positively correlated to organizational commitment (p<.01). Three facets of job satisfaction i.e., supervision, the work itself, opportunity for advancement and two facets of quality of work life, i.e., social relationships and environment explained 52.60% of the variance in organizational commitment (p<.001). In addition, the results from the interviews suggested that beyond these factors, the psychological facet of quality of work life also affected organizational commitment. Therefore, the factors mentioned above should be taken into primary consideration in policy-making to enhance the organizational commitment of this specific population.

Keywords: business employees, organizational commitment, three southernmost provinces

บทคัดย่อ
ความผูกพันองค์การของพนักงานเป็นปัจจัย สำคัญต่อความมีประสิทธิภาพและความสำเร็จของ องค์การ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับ ความผูกพันต่อองค์การ 2) ความผูกพันต่อองค์การ จำแนกตามลักษณะทางประชากรและลักษณะองค์การ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการทำงาน คุณภาพชีวิตในการทำงานและความผูกพันต่อองค์การ และ 4) อิทธิพลของความพึงพอใจในการทำงานและ คุณภาพชีวิตในการทำงานที่มีต่อความผูกพันองค์การ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานภาคธุรกิจเอกชน ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วยแบบสอบถาม จำนวน 397 คน และการสัมภาษณ์อีก 20 คน ผลการ ศึกษาพบว่า พนักงานมีความผูกพันต่อองค์การระดับ มาก พนักงานในองค์การที่มีลักษณะต่างกันในด้าน ประเภทและขนาด มีความผูกพันต่อองค์การต่างกัน (p<.05) ความพึงพอใจในการทำงานและคุณภาพชีวิต ในการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพัน ต่อองค์การ (p<.01) ความพึงพอใจในการทำงานด้าน การนิเทศงาน ด้านลักษณะงาน และด้านโอกาสความ ก้าวหน้า รวมทั้งคุณภาพชีวิตการทำงานด้านความ สัมพันธ์ทางสังคมและด้านสิ่งแวดล้อม ร่วมกันอธิบาย ความแปรปรวนของความผูกพันต่อองค์การได้ร้อยละ 52.60 (p<.001) และจากการสัมภาษณ์พบว่าคุณภาพ ชีวิตการทำงานด้านจิตใจ เป็นอีกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความผูกพันองค์การ ดังนั้นการเสริมสร้างความผูกพัน ต่อองค์การควรเน้นปัจจัยความพึงพอใจในการทำงาน และคุณภาพชีวิตในการทำงานด้านต่าง ๆ ดังกล่าวเป็น สำคัญ

คำสำคัญ: ความผูกพันต่อองค์การ, พนักงานภาค ธุรกิจเอกชน, สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1086