สำนวนเย็น, ., ศรีเนตร, ., อัครพัฒนานุกูล, ., Sumnaunyen, <., Srinate, P., & Akarapattananukul, Y. (2014, April 2). เขื่อนปากมูลกับผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการประกอบอาชีพในชุมชนปากมูน
Pak Mun Dam and its Impacts on the Pattern of Local Livelihood. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 19(4). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1043.

เขื่อนปากมูลกับผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการประกอบอาชีพในชุมชนปากมูน
Pak Mun Dam and its Impacts on the Pattern of Local Livelihood

กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พิสมัย ศรีเนตร, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ญาเรศ อัครพัฒนานุกูล, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Kingkarn Sumnaunyen, Faculty of Political Science, Ubonratchatani University
Pissamai Srinate, Faculty of Political Science, Ubonratchatani University
Yared Akarapattananukul, Faculty of Political Science, Ubonratchatani University

Abstract

The bojective of this study was to look into how the Pak Mun Dam has impacted in terms of local livelihood labor and employment and migration of Pak Mun people. The combination of qualitative and qualitative methods was used. The study was carried out in the communities affected by the Pak Mun Dam. Multi-stage sampling was used to select 900 households in 70 villages in five districts of U.R. The findings reveal two major changes: 1) the change in occupation from fishing and agriculture to industry outside communities. 2) the migration of family members, resulting in issues of elderly and children.

Keywords: labor, migration, Pak Mun Dam, pattern of local livelihood

บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบ ทางสังคมที่เกิดขึ้นหลังจากมีการสร้างเขื่อนปากมูล จนกระทั่งปัจจุบัน โดยใช้มุมมองในการวิเคราะห์เรื่อง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบอาชีพ การย้าย ถิ่นและขายแรงงาน ระเบียบวิธีการศึกษาที่ใช้คือ การ ผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พื้นที่ศึกษาคือ ชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากการสร้าง เขื่อนปากมูล ครอบคลุม 70 หมู่บ้าน ในเขต 5 อำเภอ ของจังหวัดอุบลราชธานี ทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 900 ครัวเรือน (ร้อยละ 10 จากครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบ ทั้งหมด) โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า การสร้างเขื่อนปากมูลส่งผลกระทบทาง สังคมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ได้แก่ การเปลี่ยนรูปแบบการประกอบอาชีพ จากอาชีพ ประมงและเกษตรกรรม สูอ่ าชีพการรับจา้ งและการขาย แรงงานนอกชุมชน ส่งผลกระทบต่อเนื่องต่อการโยก ยา้ ยและการอพยพเพื่อการขายแรงงาน ที่นำไปสูป่ ญั หา คนชราและภาระการเลี้ยงดูเด็กในเวลาต่อมา

คำสำคัญ: การขายแรงงาน, การยา้ ยถิ่น, เขื่อนปากมูล, รูปแบบการประกอบอาชีพ

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1043