อุดมพันธ์, ., โปธิบาล, ., จิตร์จำนงค์, ., Udomphan, <., Pothibal, ., & Chitchamnong, D. (2013, March 20). มุมมองเกี่ยวกับโรคที่สะท้อนจากถ้อยคำอุปลักษณ์ในปริจเฉทตำรายาและตำราการแพทย์ภาษาไทยถิ่นใต้
View Point on Illness Reflecting from Metaphorical Expressions in Discourse of Pharmacy and Medical Texts in Southern Thai Dialect. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 19(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1007.

มุมมองเกี่ยวกับโรคที่สะท้อนจากถ้อยคำอุปลักษณ์ในปริจเฉทตำรายาและตำราการแพทย์ภาษาไทยถิ่นใต้
View Point on Illness Reflecting from Metaphorical Expressions in Discourse of Pharmacy and Medical Texts in Southern Thai Dialect

เชิดชัย อุดมพันธ์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พุทธชาติ โปธิบาล, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดวงมน จิตร์จำนงค์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Cherdchai Udomphan, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla University
Putthachart Pothibal, Faculty of Humanities, Kasetsat University
Duangmon Chitchamnong, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla University

Abstract

This article is aimed at showing the view points on illness of Southern Thai speakers appearing in discourse of both pharmacy and medical texts by the conceptual metaphor analysis by Lakoff and Johnson (1980) according to cognitive linguistics. The analysis results reveal that conceptual metaphors about seven illnesses were conceptual metaphors WEEDS] [ILLNESS IS A FIERCE ANIMAL] [ILLNESS IS A FIRE] [ILLNESS IS A DIRTINESS SAMPLE] [ILLNESS IS AN IMBALANCE OR INCOMPLETE OF ELEMENT] and [ILLNESS IS A SPIRIT]. These conceptual metaphors are related to concept and ideology in southern context and reflect perspectives to understand causes of illness, types, indications, symptoms/group of illness, indication of illness, distribution and advance of illness, chronic of illness and suggestive of illness.

Keywords: metaphorical expression, conceptual metaphor, illness, Southern Thai dialect

บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอมุมมอง ของผู้ใช้ภาษาไทยถิ่นใตที้่มีตอ่ โรคตา่ งๆ ซึ่งปรากฏอยู ่ ในหนังสือบุดประเภทตำรายาและตำราการแพทย์ โดย อาศัยการวิเคราะห์ถ้อยคำอุปลักษณ์ด้วยทฤษฎี มโนอุปลักษณ์ (conceptual metaphor) ของเลคอฟ และจอห์นสัน (Lakoff and Johnson, 1980) ตาม แนวคิดภาษาศาสตร์ปริชาน (Cognitive Linguistics) การศึกษาพบว่า ผู้ใช้ภาษาไทยถิ่นใต้มีมุมมองที่ใช้ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคผ่านมโนอุปลักษณ์ 7 แบบ ได้แก่ [โรคเป็นมนุษย์] [โรคเป็นวัชพืช] [โรคเป็นสัตว์ ร้าย] [โรคเป็นไฟ] [โรคเป็นสิ่งสกปรก] [โรคเป็นความ ไม่สมดุลหรือสมบูรณ์ของธาตุ] และ [โรคเป็นภูตผี] มโนอุปลักษณ์เหล่านี้ยึดโยงกับแนวคิดและคตินิยม ในบริบทของภาคใต้ ทั้งยังสะท้อนให้เห็นมุมมองที่ใช้ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคในด้านที่แตกต่างกัน ออกไป ทั้งในแงส่ าเหตุการเกิดโรค ชนิด/กลุม่ ของโรค การแพร่กระจาย/ลุกลามของโรค การป่วยเป็นโรค ความเรื้อรังของโรค และอาการของโรค

คำสำคัญ: ถ้อยคำอุปลักษณ์, มโนอุปลักษณ์, โรค, ภาษาไทยถิ่นใต้

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=1007