Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 18, No. 4 (2012) open journal systems 


รูปแบบลวดลายผ้าบาติกในกลุ่มจังหวัดอันดามัน
Designs on Batik Cloth in Andaman Provinces


โสภณ ศุภวิริยากร, คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต

Sopon Supaviriyakorn, International Studies Faculty, Prince of Songkla University,


Abstract
The research is a comparative study on the designs of batik cloth in three Andaman provinces: Phuket, Phang nga, and Krabi. To help analyze and summarize the data, the researcher collected data from in depth interviews, photographs, observations, and related documents. The researcher interviewed 5 batik painters from each province; 15 painters in total.The research shows that the designs of batik cloth in Andaman provinces were developed from nature. Most of the designs in Phuket, Phang nga, and Krabi were of crabs, fish, prawns, shells, turtles, and corals. Also, there were designs of flowers such as orchids, roses, Leelawadee, Feungfah, Champa, and Sri-trang. In addition, there were designs of animals such as birds, elephants, horses, butterflies as well as crabs, fish, prawns, and shells. Therefore, the designs of batik cloth in three provinces were not different. However, there were some differences in peculiar Thai designs for example an applied Kanok design was popular in Phuket, but not in Phang nga and Krabi. As for geometric design, it was popular in Phang nga, but not in Phuket and Krabi. Furthermore, the uniqueness of the designs in each province was different. In Phuket, Promthep Cape, Sino-Portuguese architectures were dominant, while Khao Tapu and Khao Chang designs were outstanding in Phang nga. In Krabi, Paphiopedilum (a kind of orchid), Gurney’s Pitta (a kind of bird) and Khao Khanap Nam designs were dominant. As for the colors of batik designs in. Phuket, Phang nga, and Krabi, pink, light blue, dark blue, violet, yellow, and green were popular.

Keywords: designs, Batik cloth, Andaman

บทคัดย่อ
บทคัดย่อ งานวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อการศึกษา การเปรียบเทียบรูปแบบลวดลายผ้าบาติกของ จังหวัด ภูเก็ต พังงา และกระบี่ โดยรวบรวมข้อมูลจากการ สัมภาษณ์เชิงลึก บันทึกภาพ สังเกต และ ศึกษา จากเอกสารต่างๆ เพื่อประกอบการวิเคราะห์และสรุป ผลการวิจัย โดยมีกลุม่ เปา้ หมาย คือ ชา่ งเขียนผา้ บาติก 15 คน สัมภาษณ์ช่างเขียนจังหวัดละ 5 คน รวมทั้งหมด 15 คน ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบลวดลายของผ้า บาติกของจังหวัดภูเก็ต พังงา และ กระบี่ ลวดลาย ดัดแปลงจากธรรมชาติส่วนใหญ่ลวดลายที่พบมาก ได้แก่ ปู ปลา กุ้ง หอย เตา ปะการัง ลวดลายดอกไม้ ได้แก่ ดอกกล้วยไม้ ดอกกุหลาบ ดอกลีลาวดี ดอกเฟื่องฟ้า ดอกจำปา ดอกศรีตรัง ลวดลายสัตว์ที่พบมากที่สุด ไดแ้ ก ่ภาพนก ชา้ ง มา้ ผีเสื้อ ปู ปลา กุง้ หอย ทั้งสามจังหวัด ไม่มีความแตกต่าง ลวดลายลายไทยและเครือเถา จังหวัดภูเก็ตจะนิยมเขียน ลายกนกประยุกต์ จังหวัด พังงา และ กระบี่ไม่นิยมเขียน จึงมีความแตกต่างกัน ลวดลายเรขาคณิต จังหวัดภูเก็ต และ กระบี่ไม่นิยม เขียน ส่วนจังหวัดพังงานิยมเขียน ลวดลายจุดเด่นของ ผ้าบาติกในจังหวัดภูเก็ต นิยมเขียนลวดลายแหลม พรหมเทพ อาคารชิโนปอร์ตุกีส จังหวัดพังงา นิยม เขียนเขาตะปู เขาช้าง ส่วนจังหวัดกระบี่นิยมเขียน รองเท้านารี นกแต้วแล้ว เขาขนาบนํ้า สำหรับสีสันรูป แบบลวดลายจังหวัดภูเก็ต พังงา และ กระบี่ พบว่าสี พื้นนิยมสีชมพู สีฟ้า สีนํ้าเงิน สีม่วง สีเหลือง และสีเขียว

คำสำคัญ: รูปแบบลวดลาย, ผ้าบาติก, อันดามัน


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548