Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 5 (2011) open journal systems 


เมื่อมากคน ก็มากความ ถ้าอยากให้ได้ความต้องจำกัดคน: การวิเคราะห์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ในการตัดสินใจด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Environmental and Natural Resources Management


ฝอยฝา ชุติดำรง
Foyfa Shutidamrong, ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Faculty of Agriculture, Kas



Abstract
To solve environmental problems as well as to achieve the aims of sustainable development, it is necessary to not only integrate natural conservation concerns with economics principles, but also involving local participation into decision making of any activity, together with promoting stakeholder involvement in every step of the project planning. However, who is a stakeholder? It is still a question with an unclear answer. In the case of Thailand, there is no even an appropriate Thai term for “stakeholder”. There are very few studies of this issue. This article, therefore, aims to gather relevant information and documents regarding stakeholder analyses, beginning with defining an appropriate Thai term for “stakeholder”. Subsequently, stakeholder analysis procedures, including techniques and strength and weakness of each technique, werediscussed in details. The findings can be guidelines for applying stakeholder analysis techniques in any decision making in cases environmental or other relevant fields, as well as developing other stakeholder analysis techniques it.

Keywords: stakeholder, stakeholder analysis, stakeholder analysis by the experts, snowball technique, stakeholder comparison matrices

บทคัดย่อ
การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ต้องมีการ บูรณาการหลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หลักการทางเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชนในระดับท้องถิ่นในกระบวนการตัดสินใจ แต่ “ใครคือผู้ (ควร) มีส่วนร่วม” หรือคำศัพท์ในภาษา อังกฤษเรียกว่า “stakeholder” นั้นยังไม่มีการให้นิยาม ความหมาย หรือแม้กระทั่งคำศัพท์ที่ใช้เรียกเป็นภาษา ไทยอย่างชัดเจน อีกทั้งการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องยังมี จำนวนน้อยมาก บทความนี้จึงทำการรวบรวมเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ทำการวิเคราะห์ และสรุปอภิปรายผล โดยเริ่มจากการนิยามคำศัพท์คำว่า “stakeholder” เป็น ภาษาไทย แล้วจึงอธิบายสรุปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ “stakeholder” พร้อมทั้งยกตัวอย่างเทคนิควิธีการที่มี การนำมาประยุกต์ใช้ในการระบุ “stakeholder รวมทั้ง จุดอ่อนจุดแข็งของแต่ละเทคนิค ผลการวิจัยนี้เป็นแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจด้าน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรือใน สาขาที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาเทคนิควิธีการที่เกี่ยวข้องต่อไป

คำสำคัญ: ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง, การวิเคราะห์ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง, เทคนิคการวิเคราะห์ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง, การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม


Full Text: PDF







Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548