Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 4 (2011) open journal systems 


บทบาทของห้องสมุดและนักวิชาชีพสารสนเทศสำหรับห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาไทย พ.ศ.2553-2562
The Roles of Thai Academic Libraries and its Information Professional in 2010-2019


ปิยสุดา ตันเลิศ, สาขาวิชาสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กุลธิดา ท้วมสุข, สาขาวิชาสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Piyasuda Tanloet, Information and Communication Management, Faculty of Humanities and Information
Kulthida Tuamsuk, Information and Communication Management, Faculty of Humanities and Informatio


Abstract
This article presented the results of research that study on the roles of Thai academic libraries and its information professionals in the next decade. The qualitative method was used by conducting in-depth interviews with 13 administrators who involved in academic library administration and the questionnaire which was developed from the interviews’ results and confirmed by 21 experts in the field. The study of roles of Thai academic libraries in the next decade found that - 1) Academic libraries will have visions for being the knowledge centers in which they collect information in different forms, provide services on the customer-focused basis, support the users’ lifelong learning, and promote the learning organizations’ mission. 2) The library organizational structure will be flattened, with more cross-functional and team working. 3) Information resources management will be emphasized on acquisition of electronic resources required by users, collecting of institutional knowledge, and cooperating with other academic libraries for sharing resources. 4) Library services will be user-focused, emphasized on teaching and consulting services to individual users. 5) Information technology and its applications will be emphasized on the technology for increasing information access capacity, communication and research. The roles of information professional for Thai academic libraries in the next decade will have some changes in four aspects: 1) Management roles – more involvement in organizational management in terms of change agents, knowledge management, image building and policy setting. 2) Service roles – more roles in advising, teaching, training, public relations and marketing of information. 3) Coordinating roles – more roles in coordinating and facilitating the users and negotiating with stakeholders. 4) Expertise roles – more roles of subject specialists, technological experts and specializing in research and consulting.

Keywords: academic libraries, information professional, role of academic libraries, role of information Professional

บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอผลการวิจัยที่ศึกษาบทบาทของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย และบทบาทของ นักวิชาชีพสารสนเทศสำหรับห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทยใน พ.ศ.2553-2562 ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้บริหารที่รับผิดชอบการบริหารห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และ ผู้อำนวยการ สำนักหอสมุดจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จำนวน 13 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การวิเคราะหเ์ นื้อหา แลว้ นำมาจัดกลุม่ ขอ้ มูล และนำขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการสัมภาษณม์ าพัฒนาเปน็ แบบสอบถามและ ให้ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสารสนเทศ จำนวน 21 คนแสดงความคิดเห็นในแบบสอบถามเพื่อยืนยันผล การวิจัย ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1) ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาใน พ.ศ.2553-2562 มีวิสัยทัศน์มุ่งเป็นศูนย์การเรียนรู้ ที่รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบที่หลากหลาย ให้บริการโดยเน้นลูกค้าเป็นสำคัญ และส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิต โครงสร้างการบริหารห้องสมุดจะเป็นแบบราบ มีการทำงานข้ามสายงานและทำงานเป็นทีมมากขึ้น การ จัดการทรัพยากรสารสนเทศ จะเน้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ จะมุ่งเน้นการเข้าถึงทรัพยากรและจัดการความรู้ของ สถาบัน ด้านการบริการสารสนเทศ มุ่งเน้นผู้ใช้และบริการที่ตรงความต้องการของผู้ใช้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการประยุกต์ใช้ จะเน้นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในด้านการส่งเสริมการสื่อสาร การเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศ การส่งเสริมการเรียนการสอนและการวิจัย การบริหารจัดการองค์กรเพิ่มมากขึ้น 2) บทบาท ของนักวิชาชีพสารสนเทศสำหรับห้องสมุดสถาบันสถาบันอุดมศึกษาใน พ.ศ.2553-2562 จะมีบทบาทที่สำคัญ คือ ด้านการบริหาร จะมีส่วนร่วมในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง การจัดการความรู้ การสร้างภาพลักษณ์ให้องค์กร และการกำหนดนโยบาย ด้านการบริการ ทำหน้าที่มากขึ้นในด้านการเป็นที่ปรึกษาทางสารสนเทศเป็นผู้สอนและ ฝึกอบรม เป็นนักประชาสัมพันธ์และการตลาดสารสนเทศ ด้านประสานงาน เป็นผู้ประสานงาน เอื้ออำนวยให้ผู้ใช้ บริการเพื่อให้เกิดความสะดวกและได้รับบริการที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ และด้านความเชี่ยวชาญ เป็นผู้มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการวิจัย

คำสำคัญ: นักวิชาชีพสารสนเทศ, บทบาทนักวิชาชีพสารสนเทศ, บทบาทห้องสมุด, ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548