Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 3 (2011) open journal systems 


การฟื้นฟูหลังเหตุการณ์พิบัติภัยสึนามิของชุมชนบ้านในไร่ตำบลนาเตย อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา
Post-Tsunami Rehabilitation at Baan Nai Rai Community,Natoey Sub-District, Tai Muang District, Phang Nga Province


อุทิศ ศิริอาภาพงศ์, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปาริชาติ วิสุทธิสมาจาร, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
แสงอรุณ อิสระมาลัย, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Uthid Siriarpapong, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Parichart Visuthismajarn, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Sangaroon Isalamalai, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University


Abstract
Many communities along the Andaman coast of Thailand were damaged as a result of the tsunami that occurred on 26 December 2004. The tsunami also resulted in the destruction of mangrove forests, which play an important role in shoreline communities; allowing fishermen to harvest marine resources such as shrimps, mollusks, crabs, fish, etc. and also provides natural protection for the shoreline on which it grows. The greatest loss of mangrove forests 1,970 rais (788 acres) was in Phang nga province, specifically in the Thai Mueang district. The purpose of this study is to investigate mangrove rehabilitation patterns in Baan Nai Rai, a community in the Thai Mueang district. A hundred subjects from local households, groups/organizations, and authorities were observed, asked to complete a survey, and interviewed. We found that the community leaders played a key role in reforestation, cultivation, protection, and rehabilitation of the post-tsunami mangrove forest. Because of mangrove rehabilitation, aquatic wildlife has increased dramatically. This has provided local fishermen in the community with a sustainable resources and a means of producing both food and income for their families. This is a large step in helping the entire community reach a more normal state of living after the tsunami.

Keywords: mangrove management, mangrove reforestation

บทคัดย่อ
ชุมชนจำนวนมากตามแนวชายฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทยได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์พิบัติภัย สึนามิที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 พิบัติภัยสึนามิยังเกิดการทำลายป่าชายเลนซึ่งมีบทบาทสำคัญเป็น ชายฝงั่ ปอ้ งกันภัยใหกั้บชุมชน และเปน็ แหลง่ อาหารใหช้ าวประมงไดเ้ ก็บเกี่ยวทรัพยากรทางทะเลเชน่ กุง้ หอย ปู ปลา ฯลฯ และยังเปน็ การปอ้ งกันภัยธรรมชาติ โดยปา่ ชายฝงั่ ชว่ ยใหสิ้่งมีชีวิตในปา่ ชายเลนไดเ้ จริญเติบโต การสูญเสียที่ยิ่งใหญ่ ที่สุดของป่าชายเลนจากพิบัติภัยสึนามิ จำนวนเนื้อที่ 1,970 ไร่ (788 เอเคอร์) อยู่ในจังหวัดพังงา โดยเฉพาะในเขต อำเภอท้ายเหมือง วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษารูปแบบการฟื้นฟูป่าชายเลนในชุมชนบ้านในไร่ในเขต อำเภอท้ายเหมือง กลุ่มตัวแทนที่คัดเลือก จำนวน 100 ครัวเรือนในชุมชน กลุ่มผู้นำในชุมชน องค์กรเอกชน และ เจ้าหน้าที่รัฐ วิธีการศึกษาขัอมูลได้ใช้การสังเกตของผู้วิจัย การตอบแบบสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และการสนทนากลุ่มกับผู้นำ พบว่า ผู้นำชุมชนมีบทบาทสำคัญในการปลูกป่า การป้องกันและฟื้นฟูป่าชายเลนหลัง พิบัติภัยสึนามิ เพราะการฟื้นฟูป่าชายเลนทำให้สัตว์นํ้าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ชาวประมงในชุมชนที่มี ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและเป็นแหล่งผลิตอาหารและรายได้ให้กับครอบครัวชาวประมง วิธีการที่พบนี้มี ขั้นตอนสำคัญในการช่วยให้ชุมชนเข้าถึงสภาวะปกติในการดำเนินชีวิตอย่างรวดเร็วภายหลังจากที่ได้รับผลกระทบ จากพิบัติภัยสึนามิ

คำสำคัญ: การปลูกป่าชายเลน, การป้องกันและฟื้นฟูป่าชายเลน


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548