Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 16, No. 2 (2010) open journal systems 


การประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาการวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา
The Evaluation of Instructional Effectiveness of Action Research in Education Course


จิระวัฒน์ ตันสกุล, ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Jirawat Tansakul, Department of Educational Evaluation and Research, Faculty of Education, Prince


Abstract
Abstract The main objective of this study was to evaluate the instructional effectiveness of action research in education. This study assessed the following factors: input, process and output. The sample for this study consisted of 121 students and 6 lecturers from the faculty of education in Prince of Songkla University. The research instruments used were questionnaire, test, attitude scale, performance evaluation and lesson plan evaluation. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test and content analysis. The results of input factors such as academic ability, instructional context and facilities and lesson plan had shown a high appropriate level in instructional effectiveness while the personal characteristics had accounted for the highest appropriate level. Meanwhile, the result of process factors: learning readiness preparation, teaching method and learning activity, equipment and technology, instructional assessment and interaction between lecturer and students were found at a high level. Moreover, the result of output factor: achievement recorded in the post-test was higher than the pre-test in which the significance at 0.01, whereas learning attitude and practice were found at the medium and high levels respectively. The grade levels which the students obtained were fair as it stood at 94.21 percent.

Keywords: action research, effectiveness, evaluation

บทคัดย่อ
บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน วัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อ ประเมินปัจจัยตัวป้อนกระบวนการและผลผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขต ปัตตานี 121 คน คณาจารย์ 6 คน เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบวัดเจตคติ แบบประเมินทักษะการ ปฏิบัติงาน แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้วิเคราะห์ข้อมูลค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ที และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ด้านปัจจัยตัวป้อน ความสามารถทางวิชาการ สภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวย ความสะดวก แผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับมาก ยกเว้น บุคลิกภาพส่วนตัว อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านกระบวนการ การสร้างความพร้อมในการเรียน วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้วัสดุและสื่อการ เรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียน การสอน ปฏิสัมพันธ์ของผู้สอนกับผู้เรียน มีการปฏิบัติในระดับมาก ด้านผลผลิต ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากการจัดการเรียนการสอนสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนการสอน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เจตคติต่อการเรียนการสอนในระดับปานกลาง ทักษะการปฏิบัติงานในระดับมาก ระดับ ผลการเรียนได้ C ขึ้นไป ร้อยละ 94.21

คำสำคัญ: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การประเมิน, ประสิทธิภาพ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548