Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 16, No. 1 (2010) open journal systems 


Ungrammatical English Verb Forms Performed by Chinese University Students
รูปกริยาภาษาอังกฤษที่ผิดไวยากรณ์ในเรียงความของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาชนจีน


Changqing Chen, Faculty of Foreign Languages, Southwest University of Political Science and Law,
Premin Karavi, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University
Patama Aksornjarung, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University

Changqing Chen, คณะภาษาต่างประเทศ, Southwest University of Political Science and Law,
เปรมินทร์ คาระวี, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปฐมา อักษรจรุง, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


Abstract
Abstract This study investigated Chinese university students’ ungrammatical verb forms in English narrative texts. The subjects in this study were 170 third year law students from Southwest University of Political Science and Law (SWUPL), China. Two instruments were used to collect data. They were a cloze test and a writing test. The data analysis was conducted qualitatively, using numbers of incorrect verb forms and their percentages to demonstrate the types of errors. Nine types of ungrammatical verb forms were identified, of which errors in past irregular verbs and the unnecessary use of the passive voice structure were most conspicuous. The findings suggested that 1) ungrammatical verb forms made by the Chinese university students were associated with the influence of their mother tongue and their incomplete acquisition of L2 tense form rules, and 2) pedagogical efforts should be made to raise the learners’ awareness of the errors in verb forms due to analogy and L1 influence.

Keywords: English proficiency level, passive voice structure, past irregular, tense formation, types of errors, ungrammatical verb form

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการศึกษารูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์ (ungrammatical verb forms) ในเรียงความ ประเภทเรื่องเล่า (narrative texts) ของนักศึกษาชาวจีน กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้เป็นนักศึกษาสาขากฎหมาย ชั้นปีที่ 3 จำนวน 170 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยด้านการเมืองและกฎหมายแห่งตะวันตกเฉียงใต้ของ สาธารณรัฐประชาชนจีน การวิจัยนี้ ใช้เครื่องมือที่สำคัญ 2 ส่วน ได้แก่ แบบทดสอบชนิดเติมคำ (cloze test) และ แบบทดสอบการเขียนเรียงความ (writing test) กรรมวิธีการวิจัยเป็นแบบวิจัยเชิงปริมาณ ที่แสดงประเภทและ จำนวนของรูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์ และอัตราส่วนร้อยละของรูปกริยาเหล่านั้น ผลการวิจัยพบว่า มีรูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์ ทั้งสิ้นจำนวน 9 ประเภท โดยมีรูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์ ในเรื่องรูปอดีตกาลของคำกริยาอปกติ และ รูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์ในเรื่องการใช้โครงสร้างกรรมการก (passive voice) อย่างไม่จำเป็น เกิดมากที่สุด ข้อค้นพบยังชี้ให้เห็นว่า 1) รูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์ ที่เขียนขึ้นโดยนักศึกษาในมหาวิทยาลัยจีนนั้นสัมพันธ์ โดยตรงกับอิทธิพลของภาษาแม่ และการเรียนรู้เรื่องกาล (tenses) จากภาษาที่ 2 ที่ไม่สมบูรณ์ 2) แวดวงการเรียน การสอนภาษาอังกฤษควรสร้างความตระหนักต่อผู้เรียนในเรื่องรูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์โดยการเปรียบต่าง ระหว่างภาษาอังกฤษกับภาษาแม่ของผู้เรียน และควรสร้างความตระหนักด้านอิทธิพลของภาษาแม่ที่มีต่อการรับ ภาษา ที่ 2 เข้ามาของผู้เรียน

คำสำคัญ: การสร้างรูปกริยา, โครงสร้างกรรมการก, ประเภทของหน่วยภาษาที่ผิดไวยากรณ์, ระดับของความ ชำนาญด้านภาษาอังกฤษ, รูปคำกริยาที่ผิดไวยากรณ์, รูปอดีตกาลของกริยาอปกติ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548