Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 15, No. 4 (2009) open journal systems 


Secondary High School Chemistry Teachers’ Perspectives on the Difficulties of Teaching Atomic Structure and the Periodic Table:Views from Thailand and Kenya
มุมมองของครูผู้สอนวิชาเคมีระดับชั้นมัธยมศึกษาเกี่ยวกับความยากในการสอนเรื่องโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ: มุมมองครูไทยและครูเคนยา


พรรณวิไล ชมชิด, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
จัสติส อินเยียกา, Department of Chemistry, Kenya Science Teachers College
นอร์แมน ทอมสัน, Department of Mathematics and Science Education, The University of Georgia

Panwilai Chomchid, Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University
Justus Inyega, Department of Chemistry, Kenya Science Teachers College
Norman Thomson, Department of Mathematics and Science Education, The University of Georgia


Abstract
Our research study provides a glimpse into difficulties high school chemistry teachers in Thailand and Kenya encounter in classroom practice when addressing issues of learning atomic structure and the periodic table. In this paper, we focus on chemistry teachers’ reflections using surveys with questionnaires and interviews to learn about the difficulties they encounter in teaching basic concepts related to atomic structure and the periodic table in chemistry. We do not believe that teachers in Thailand and Kenya are different from those in the global community, but little data exists to support this claim especially with regard to rural areas. Our data is being used to design and create curriculum materials relevant to the teachers’ and students’ needs and we are planning to investigate its usefulness.

Keywords: atomic structure, chemistry, Kenya, periodic table, teachers’ perspectives, Thailand

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูในประเทศไทยและประเทศเคนยาเกี่ยวกับปัญหาในการ ปฏิบัติการสอนเรื่องโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าทั้ง ครูไทยและครูเคนยาต่างก็พบปัญหาในการสอนแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่องโครงสร้างอะตอมและตารางธาต สนับสนุนความเชื่อของผู้วิจัยที่ว่าความยากในการสอนแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุเป็นสากล ผู้วิจัย จะนำผลการศึกษาในครั้งนี้ไปใช้ออกแบบในการสร้างบทเรียนและสื่อการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความต้องการ ของครูและนักเรียน พร้อมทั้งเก็บข้อมูลผลการใช้บทเรียนและสื่อการเรียนการสอนที่จะสร้างขึ้นในครั้งนี้ด้วย

คำสำคัญ: โครงสร้างอะตอม, ตารางธาตุ, ประเทศเคนยา, ประเทศไทย, มุมมองของครูผู้สอน, วิชาเคมี


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548