Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 11, No. 5 (2005) open journal systems 


ผลของการสอนซ่อมเสริมวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลม โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
Effects of CAI Remedial Teaching on Physics Achievement of Students in an Islamic Private School


ปิติ สันหีม ปราณี ทองคำ
และ พงศกร สุวรรณเดชา
Piti Sunheem
Pranee Thongkum and Pongsakorn Suwandecha


Abstract
The purposes of this research were to compare the Physics achievement entitled “Circle Motion” of students who took the remedial teaching by using the computer assisted instruction and the conventional method. The samples were the students Matthayomsuksa Six under the Science – Mathematics program in the first semester of the 2004 academic year of Saiburi Islam Wittaya School. The fifty students who had Physics achievement lower than 50 % were randomly and divided into two groups. Each group consists of twenty five persons. The first group were taught by using the computer assisted instruction and the other were taught by using conventional method. Each of both groups were taught in 6 periods. The data was statistically analyzed by using t-test . The finding of this research were as follows The Physics achievement of students who took remedial teaching by using the computer assisted instruction was significantly higher than the Physics achievement of students who took remedial teaching by conventional method at .01 level

Keywords : remedial teaching, computer assisted instruction, physics, circle motion

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลมของนักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและการสอนซ่อมเสริมแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2547 ของโรงเรียนสายบุรีอิสลามวิทยาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลมไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50จำนวน 50 คน สุ่มแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 25 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มควบคุมได้รับการสอนซ่อมเสริมแบบปกติ ใช้เวลาในการสอนกลุ่มละ 6 คาบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

คำสำคัญ: การสอนซ่อมเสริม, บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, ฟิสิกส์, การเคลื่อนที่แบบวงกลม


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548