Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 21, No. 1 (2015) open journal systems 


แนวคิดการศึกษาอิงสถานที่: การพัฒนาความเป็นพลเมืองดีให้แก่เยาวชนโดยใช้บริบทชุมชนท้องถิ่นเป็นฐาน
Place-Based Education: The Development of Good Citizenship in Youth Based on Community Contexts


ออมสิน จตุพร, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร
อมรรัตน์ วัฒนาธร, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร

Omsin Jatuporn, Department of Education, Faculty of Education, Naresuan University
Amornrat Watthanathorn, Department of Education, Faculty of Education, Naresuan University


Abstract
Place-based education is a relatively new term in the education reform era around the world that emphasizes the use of local resources, people, and environments to engage students in learning about and developing their community. It is also commonly referred to as pedagogy of place, place-based learning, and outdoor education. Three major principles underlie place-based education. First, true learning is interdisciplinary and authentic. Second, place-based education works best when supported by local partnerships and organizations. Finally, local learning serves as the foundation for a greater understanding on complex regional and global issues. Research indicates that a place-based instructional approach can increase student active engagement, make the curriculum more authentic and relevant for students, and help make the difference in communities.

Keywords place-based education, school curriculum, community contexts, authentic learning, integrated learning

บทคัดย่อ
การศึกษาอิงสถานที่เป็นค􀃎ำศัพท์ที่ก􀃎ำเนิดขึ้น มาใหม่ในยุคแห่งการปฏิรูปการศึกษาทั่วโลกโดยเน้นไปที่การใช้ทรัพยากรท้องถิ่น ผู้คน และสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนเกี่ยวกับชุมชนและ การพัฒนาท้องถิ่น นอกจากนั้นยังรวมถึงองค์ความรู้ด้านสถานที่ การเรียนรู้อิงสถานที่ และการศึกษา ภาคสนามอีกด้วย หลักส􀃎ำคัญ 3 ประการที่เป็นรากฐานความคิดของแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่ คือ 1) การเรียนรู้ที่แท้จริงเป็นการเรียนรู้ตามสภาพจริงและมีลักษณะเป็นสหวิทยาการ 2) แนวคิดการศึกษา อิงสถานที่จะเกิดประโยชน์สูงสุดก็ต่อเมื่อได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายและองค์กรต่างๆ ในชุมชน 3) การเรียนรู้เรื่องราวในชุมชนเป็นรากฐานส􀃎ำคัญที่ น􀃎ำไปสู่ความรู้ความเข้าใจประเด็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับภูมิภาคหรือสังคมโลกได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น งานวิจัยได้ชี้ ให้เห็นว่า แนวการสอนตามแนวคิดการศึกษาอิง สถานที่สามารถกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้นของนักเรียน สร้างหลักสูตรให้มีความหมายต่อวิถี การเรียนรู้และชีวิตประจ􀃎ำวันของนักเรียน และช่วยสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในชุมชนท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง

คำสำคัญ แนวคิดการศึกษาอิงสถานที่, หลักสูตรสถานศึกษา, บริบทชุมชนท้องถิ่น, การเรียนรู้ตามสภาพจริง, การเรียนรู้แบบบูรณาการ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548