Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 20, No. 1 (2014) open journal systems 


ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุ
Factors Affecting on Stress of Caregivers to Older Persons


รศรินทร์ เกรย์, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
สาลินี เทพสุวรรณ์, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

Rossarin Gray, Institute for Population and Social Research (IPSR), Mahidol University
Sasinee Thapsuwan, Institute for Population and Social Research (IPSR), Mahidol University


Abstract
Thailand has become an ageing society. The proportion and number of older persons increase rapidly. They usually have health problem and need caregivers in daily life. Family caregivers do not receive payment, not only spend a lot of time and energy in care work but also need to adjust to changes in their roles. These often lead to stress and consequently affect the quality of both care providers and care receivers. This study aimed to explore factors affecting family caregivers’ stress. Survey on the Elderly in 2007 by the National Statistical Office is used. The sample consisted of 859 family caregivers. The results showed that most of them were women and wives, followed by children. The multiple regression revealed that factors relating to expectation from society, multiple roles, perceived health and economics of caregivers and financial preparation before old age of care recipients affected stress of caregivers statistically significantly.

Keywords: family caregivers, older persons, stress

บทคัดย่อ
ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย มีการเพิ่มขึ้นอยา่ งรวดเร็วของประชากรผูสู้งอายุซึ่งมัก มีปัญหาทางด้านสุขภาพ จึงต้องการผู้ดูแลในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งนี้การดูแลผูสู้งอายุโดยสมาชิก ในครอบครัว ไม่เพียงแต่ไม่ได้รับค่าตอบแทน และใช้ เวลา และแรงงานมาก อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงบทบาท หน้าที่ ทำให้ผู้ดูแลเกิดความเครียด และส่งผลต่อเนื่อง ถึงคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลและผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การศึกษาปัจจัยที่ ส่งผลต่อระดับความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็น สมาชิกในครอบครัว โดยใช้ข้อมูลจากโครงการสำรวจ ประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2550 ของ สำนักงานสถิติแห่งชาติ มีจำนวนตัวอย่างผู้ดูแลที่เป็น สมาชิกในครอบครัวทั้งสิ้น 859 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นหญิง และเป็นคู่สมรส รองลงมาคือ บุตร เมื่อวิเคราะห์โดยสมการถดถอยแบบพหุพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของผู้ดูแลอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยเกี่ยวกับความคาดหวังจาก สังคม บทบาทที่หลากหลาย เศรษฐกิจ และสุขภาพของ ผู้ดูแล และปัจจัยทางด้านการเตรียมพร้อมทาง เศรษฐกิจก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุของผู้สูงอายุที่ได้รับการ ดูแล

คำสำคัญ: ความเครียด, ผู้ดูแลที่เป็นสมาชิกใน ครอบครัว, ผู้สูงอายุ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548