Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 19, No. 3 (2013) open journal systems 


“อิสลามการเมือง” ในเอเชียใต้: กระแสแห่งการเรียกร้องอิสรภาพบนฐานอิสลาม กรณีแนวคิดของเมาดูดีย์และกลุ่มฏอลิบาน
Political Islam in South Asia: Islamic-Based Demand for Independence Case Study of Maududi’s Ideas and Taliban Movement


ยาสมิน ซัตตาร์, สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Yasmin Sattar, Institute for Peace Studies, Prince of Songkla University


Abstract
In the 20th century when the colonial power had expanded across the world, several nations in South Asia also had been colonized along with the uprising of various movements for independence. Further, in this period, there appeared thinkers such as Gandhi, who faught to free from colonization. Within Muslim society in this region, one of the most influenced thinkers, Abul Ala Maududi had reintroduced the political Islam into the society. Another obvious case was the implementation of Islamic law by Taliban after the collapse of Soviet Union. Although these two incidents may have taken at two different parts of time, the main principle was obviously similar.

Keywords: Islam, Maududi Taliban, Political, South Asia

บทคัดย่อ
ช่วงยุคล่าอาณานิคมในศตวรรษที่ 20 แถบเอเชียใต้ในช่วงเวลานั้นต่างต้องตกอยู่ภายใต้อาณานิคมของอังกฤษและกระแสของการเรียกร้องอิสรภาพจากเจ้าเมืองอาณานิคมปรากฏให้เห็นมากขึ้น เมื่อนักคิดต่างได้ศึกษาและเสนอแนวทางเลือกของการปกครองที่จะทำให้สภาพของผู้ที่อยู่ภายใต้ระบบการปกครองดีขึ้น นักคิดที่ทรงอิทธิพลหลายท่านได้กลายเป็นที่รู้จักจากการเสนอแนวคิดการเป็นอิสระ เช่น คานธี (Gandhi) และในสังคมมุสลิมของพื้นที่บริเวณนี้เกิดมีนักคิดท่านหนึ่ง คือ อะบุลอะลา เมาดูดีย์ (Abul Ala Maududi) ซึ่งทำให้การเมืองในรูปแบบอิสลามกลับมาเป็นที่กล่าวถึงอีกครั้งและต่อมาได้ประจักษ์ชัดเจนอีกครั้งในการปรับใช้กฎหมายอิสลามของฎอลิบานภายหลังจากขับไล่กองกำลังโซเวียตออกไปจากอัฟกานิสถาน โดยที่ทั้งสองกรณีนี้เกิดขึ้นในเวลา สถานที่ และรูปแบบการประยุกต์อาจต่างบ้าง แต่หลักการนั้นกลับมีความเหมือน นั่นคือ การเรียกร้องให้คนกลับสู่หนทางของอิสลาม โดยที่ไม่ได้แยกระหว่างขอบเขตเรื่องศาสนาและการเมือง หรือเศรษฐกิจ ดังเช่นแนวคิดในระบบเซคิวลาร์ (Secularism) แต่กลับมองว่าทั้งสองนั้นสามารถเดินควบคู่ไปพร้อมๆกันและอยู่ในขอบเขตเดียวกัน

คำสำคัญ: การเมือง, ฏอลิบาน, เมาดูดีย์, อิสลาม, เอเชียใต้


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548