Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 19, No. 1 (2013) open journal systems 


การมีส่วนร่วมของนักท่องเที่ยวในการประเมินแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษา ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้งและตลาดนํ้าตลิ่งชัน
Participation of Tourists in Cultural Tourism Assessment: A Case Study of Bang Num Phueng Floating Market and Taling Chan Floating Market


เกศิรินทร์ สุวรรณศรี, คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ธนิตย์ อินทรัตน์, คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Kesirin Suwannasi, Faculty of Geoinformatics, Burapha University
Thanit Intarat, Faculty of Geoinformatics, Burapha University


Abstract
The purpose of this study was to assess and compare the potential for the cultural tourism attractions between Bang Nam Phueng floating market and Taling Chan floating market from the participation of tourists. Cultural assessment form designed by the Office of Tourism Development was used to collect acquired data. The assessment was devided into 3 parts, 1) potential for tourism attraction, 2) potential of tourism support and 3) potential for administration and management. The independent sample t-Test was used as a tool to analyze the potential for cultural tourism attraction of both floating markets significantly at the confidence level of 95%. The compared result revealed that Bang Nam Phueng floating market had better potential in tourism support than Taling Chan floating market. While Taling Chan floating market had better potential in tourism attraction and administration and management than Bang Num Phueng floating market.

Keywords: assessment, Bang Nam Pheung floating market, tourism attractions, Taling Chan floating market

บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิน และ เปรียบเทียบศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ของตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง และตลาดนํ้าตลิ่งชัน จากการมี ส่วนร่วมของนักท่องเที่ยว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม จากสำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว โดยแบบประเมินมาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยวแบ่ง ออกเป็น 3 ส่วน คือ การประเมิน 1) ศักยภาพในการ ดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว 2) ศักยภาพในการรองรับ ด้านการท่องเที่ยว และ 3) การบริหารจัดการ โดยนำ คา่ สถิติการทดสอบสมมติฐานของกลุม่ ตัวอยา่ ง 2 กลุม่ ที่เป็นอิสระจากกัน มาใช้ทดสอบ ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 และประเมินผลเพื่อเปรียบเทียบศักยภาพ ในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของตลาดนํ้า ทั้งสองแห่งผลการเปรียบเทียบศักยภาพจากการประเมิน ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง และตลาดนํ้าตลิ่งชัน พบว่า ตลาด นํ้าบางนํ้าผึ้ง มีศักยภาพในการรองรับด้านการท่อง เที่ยวอยูใ่ นระดับดีกวา่ ตลาดน้ำตลิ่งชัน ในขณะที่ตลาด นํ้าตลิ่งชันมีศักยภาพการดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว และศักยภาพการบริหารจัดการ อยู่ในระดับที่ดีกว่า ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง

คำสำคัญ: การประเมิน, ตลาดนํ้าตลิ่งชัน, ตลาดนํ้า บางนํ้าผึ้ง, แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548