Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 19, No. 1 (2013) open journal systems 


การนำนโยบาย ส6 สร้างสรรค์/นวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
An Implementation of the “S6 Creations/ Innovations” Policy for Personnel at Faculty of Medicine, Prince of Songkla University


อัมพา อาภรณ์ทิพย์, ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อุษณีย์ ธรรมสุวรรณ, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Ampha Arpornthip, Department of Obstetrics-Gynaecoloty, Prince of Songkla University
Ausanee Thamsuwan, Faculty of Medicine, Prince of Songkla University


Abstract
This research aimed to study the decision making process of and understanding about the “S6 Creations/Innovations” policy. Data were collected quantitatively using questionnaires and qualitatively using group discussions. The samples of the study were 632 personnel in the Faculty of Medicine, Prince of Songkla University. Statistics employed were percentage, mean, standard deviations, t-test and F-test. Results show that the sample groups that finished their task had a high level of understanding about the “S6 Creations/ Innovations” policy, while those who did not finish their task had an average level of understanding. Regarding the decision making process of the “S6 Creations/Innovations”, the research samples agreed at a high level with the three stages of persuasion, decision making and knowledge. Other two stages of Implementation and confirmation were ranked at a moderate level. The “S6 Creations/Innovations” policy was proved to be applicable and achieved objectives in facilitating and accelerating working procedures as it helped reduce costs, time, human resources, and steps taken in completing the job. Problems reported by personnel who did not or complete their tasks are related their over-workloads and problems regarding the program procedure including not knowing how to present their projects and therefore were discouraged to submit project, lacks of cooperation and awareness of importance of the task among people in the department, lacks of supports and encouragements from supervisors, lacks of mentors or consultants, and lacks of understanding and insufficient encouragement of the program.

Keywords: policy S6, creative/innovation, implementation

บทคัดย่อ
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการ ตัดสินใจเกี่ยวกับการสรา้ งสรรค/์ นวัตกรรม ความรูค้ วาม เข้าใจที่มีต่อนโยบาย ส6 และติดตามผลการดำเนินงาน ตามผลงานสร้างสรรค์/นวัตกรรม โดยศึกษาทั้ง เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากร ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จำนวน 632 คน สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มที่มีผลงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบาย ส6 อยู่ในระดับสูง และกลุ่มที่ไม่มีผลงาน มีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับปานกลาง ด้าน กระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับสร้างสรรค์/นวัตกรรม พบวา่ กลุม่ ตัวอยา่ งเห็นดว้ ยกับขั้นตอนของกระบวนการ ตัดสินใจในระดับมากจำนวน 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการ จูงใจ ขั้นตัดสินใจ และขั้นความรู้ ส่วนขั้นตอนที่เห็น ด้วยในระดับปานกลาง ได้แก่ ขั้นการนำไปใช้ และ ขั้นการยืนยัน ด้านประสิทธิผลของการนำนโยบาย ส6 ไปปฏิบัติ พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผลอยู่ใน ระดับมาก โดยสามารถลดค่าใช้จ่าย ลดเวลา ลดคน และขั้นตอน ทำให้การทำงานสะดวกรวดเร็วขึ้น และ เกิดผลที่เป็นรูปธรรม ปัญหาอุปสรรคที่ทำให้ไม่มี ผลงานสร้างสรรค์/นวัตกรรม คือ มีงานประจำมาก และปัญหาด้านการดำเนินงานตามนโยบาย ส 6 คือ ไม่ ทราบวิธีการส่งผลงานและไม่กล้านำเสนอผลงาน บุคลากรในหน่วยงานไม่ให้ความร่วมมือและไม่เห็น ความสำคัญ ผู้บังคับบัญชาไม่สนับสนุน ขาดที่ปรึกษา ภาระงานประจำมีมาก และการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง

คำสำคัญ: นโยบาย ส6, สร้างสรรค์/นวัตกรรม, การนำ ไปปฏิบัติ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548