บุราสิทธิ์, ., & Burasith, <. (2011, May 20). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุชาวไทยลื้อ
Community Participation in Thai Lue Elderly Health Care. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 17(2). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=860.

การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุชาวไทยลื้อ
Community Participation in Thai Lue Elderly Health Care

ยงยุทธ บุราสิทธิ์, สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

Yongyuth Burasith, Research Institute for Languages and Cultures of Asia, Mahidol University

Abstract

This research aimed to study Thai Lue elderly general data, community participation in elderly care and factors affecting elderly integration in Chiang Ban sub-district, Chiang Kham district, Phayao province. The qualitative study was made by using focus group, in-depth interview and observation among elderly group, government officers and community leaders. It was found that: General data: Thai Lue elderly earned 1,500 baht monthly. They had their own houses and lived with their family. Most of them had good health. Health station, Sub-district Administrative Organization., villagers and temples also gave support for elderly integration. Factors affecting elderly integration: It was found that elderly wanted to meet other elder people. They also wanted to have jobs, incomes and also benefits from government sections as well as conserving their traditions and cultures. This study suggested that occupation group for elderly in every village should be provided. In addition, every social section should work with integration for elderly care and young people should be aware of the important of an elderly.

Keywords: community participation, elderly, health care, Thai Lue ethnic group

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุชาวไทยลื้อ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล ผู้สูงอายุ และปัจจัยที่มีผลต่อการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ ในตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา เป็นวิธี การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตกับกลุ่มผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้นำชุมชน ผลการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุมีรายได้เฉลี่ย 1,500 บาทต่อเดือน มีบ้านเป็นของตนเองและอยู่กับ ลูกหลาน ส่วนใหญ่มีสุขภาพดี มีภาคส่วนต่างๆ ให้การสนับสนุนในการดูแลผู้สูงอายุได้แก่สถานีอนามัย องค์การ บริหารส่วนตำบล คนในชุมชน และวัด/สำนักสงฆ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการรวมกลุ่มพบว่า ต้องการพบปะคนรุ่นเดียวกัน ต้องการมีงานทำและมีรายได้ การได้รับประโยชน์จากภาครัฐและการรักษาสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมของ ชาวไทยลื้อ ข้อเสนอแนะควรจัดให้มีกลุ่มอาชีพของผู้สูงอายุในทุกหมู่บ้าน ภาคส่วนต่างๆ ควรทำงานแบบ บูรณาการในการดูแลผู้สูงอายุ และปลูกฝังเยาวชนให้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ

คำสำคัญ: การดูแลสุขภาพ, การมีส่วนร่วมของชุมชน, กลุ่มชาติพันธุ์ไทยลื้อ, ผู้สูงอายุ

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=860