ดิศวนนท์, ., ไชยเพิ่ม, ., Ditsawanon, <., & Chaiperm, A. (2011, February 28). ปัญหาความเชื่อมั่นต่อระบอบประชาธิปไตย: ศึกษาในมุมมองเชิงอัตลักษณ ์เปรียบเทียบกรณีประเทศญี่ปุน่ และประเทศไทย
Problems of Confidence in Democracy: The Study in Case of Japan Comparing with Thailand by Using Identities Approach. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 17(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=835.

ปัญหาความเชื่อมั่นต่อระบอบประชาธิปไตย: ศึกษาในมุมมองเชิงอัตลักษณ ์เปรียบเทียบกรณีประเทศญี่ปุน่ และประเทศไทย
Problems of Confidence in Democracy: The Study in Case of Japan Comparing with Thailand by Using Identities Approach

ศศิน ดิศวนนท์,
อัครเดช ไชยเพิ่ม, ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Sasin Ditsawanon, Department of Public Administration, Faculty of Political Science, Chulalongkorn
Ackadej Chaiperm, Department of Public Administration, Faculty of Political Science, Chulalongkorn

Abstract

This article is aimed at studying problems of confidence in democracy by using identities approach. The main argument is that most of the literature in comparative politics consisted of works on structural-functional approach or institutional approach which overlooks the plethora of relevant details studied in many countries. So in this work, only two countries are compared: Japan and Thailand. The findings show that the factors which affect the confidence of democracy in Japan consist of a strong ideology emphasizing on the importance of the group over the individual, Confucius culture, patron-client system, nationalism and internationalism, social exclusion, mass media, Japanese bureaucracy, and education. And in case of Thailand the problems are a discontinuous of constitutions, a belief in virtue (boon) and power, Thai nationalism, political parties, political culture, bureaucracy, voting behaviors, and democratic commitment.

Keywords: comparative politics, democracy, political confidence,

บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้เป็นการศึกษาปัญหาความเชื่อมั่นต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยใช้วิธีการศึกษา ในเชิงอัตลักษณ์ (identities) เหตุผลเนื่องจากเมื่อทำการสำรวจทฤษฎีที่นักวิชาการต่างๆ นำเสนอแล้ว พบว่า ส่วนใหญ่ จะเป็นทฤษฎีในเชิงโครงสร้าง-หน้าที่หรือเชิงสถาบัน ซึ่งมีจุดอ่อนสำคัญ คือ จะละเลยการศึกษาในระดับหน่วยย่อย และขาดการเจาะในรายละเอียดเพราะเปน็ การศึกษาจำนวนหลายประเทศ โดยในที่นี้ผูศึ้กษาไดท้ ำการศึกษาประเทศ ญี่ปุ่นเปรียบเทียบกับประเทศไทย ซึ่งข้อค้นพบที่ได้คือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นต่อการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศญี่ปุ่นก็คือ การให้ความสำคัญแก่กลุ่ม วัฒนธรรมขงจื๊อ ระบบอุปถัมภ์ ความเป็นชาตินิยม และนานาชาตินิยม การกดขี่และกีดกันทางสังคม สื่อมวลชน ระบบราชการของญี่ปุ่น และการศึกษา ส่วนกรณี ประเทศไทยมีปัจจัยคือ ปัญหาความไม่ต่อเนื่องและความไม่ศักดิ์สิทธิ์ของรัฐธรรมนูญ ความเชื่อในเรื่องบุญและอำนาจ ชาตินิยมแบบไทยๆ พรรคการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบบราชการ ความแตกต่างของพฤติกรรมในการลง คะแนนเสียงเลือกตั้งระหว่างคนเมืองและคนชนบท และความผูกพันและยึดมั่นต่อประชาธิปไตย

คำสำคัญ: การเมืองเปรียบเทียบ, ความเชื่อมั่นทางการเมือง, ประชาธิปไตย

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=835