ศรีสมุทร, ., ธรรมาภรณ์, ., บัณฑิศักดิ์, ., Srisamut, <., Thummarpon, W., & Bandisak, P. (2009, December 15). การวิเคราะห์การจัดกลุ่มโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก: ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
External Quality Assessment : Basic Education Level of Schools in Southern Border Provinces. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(4). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=667.

การวิเคราะห์การจัดกลุ่มโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก: ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
External Quality Assessment : Basic Education Level of Schools in Southern Border Provinces

สมโภชน์ ศรีสมุทร, ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา,คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิรัตน์ ธรรมาภรณ์, ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา,คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประเสริฐ บัณฑิศักดิ์, ภาควิชาบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Sompoch Srisamut, Department of Educational Evaluation and Research, Prince of Songkla University
Wirat Thummarpon, Department of Educational Evaluation and Research, Prince of Songkla University
Prasert Bandisak, Faculty of Education, Prince of Songkla University

Abstract

This purposes of this survey research were to group and identify characteristics of schools based on 14 educational standards for external quality assessment of the basic educational level and to study the relationships between educational standards. The sample were 278 primary schools in Pattani, Yala, and Narathiwat which had received the first round assessment by the Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization)(ONSQA) during 2001 – 2005. The data used in this study were retrieved from the data base of the ONSQA. Cluster Analysis through the K-means technique and correlation were used for data analysis. The findings revealed that the schools could be grouped into 3 clusters. The first cluster which comprised 139 schools (or 50%) was named “the school cluster of standard quality”. The second cluster which comprised 100 schools (or 36%) was named “the school cluster of inferior quality concerning administrators and teachers”. The third cluster which comprised 39 schools (or 14%) was named “the school cluster of more inferior quality concerning learners”. It was also found that the relationships among the standards concerning learners, teachers and administrators were significance at .01 level, with correlation coefficient from .446 to .528 .

Keywords: cluster analysis, educational quality assessment, educational standards, quality assessment

บทคัดย่อ
การวิจั ยนี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจ มีวัตถุประสงค์ เพื่ อจัดกลุ่มและค้นหาคุณลักษณะของกลยุทธ์ โรงเรียน ตามมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก: ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14 มาตรฐาน และเพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ โรงเรียน ระดับประถมศึกษาในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ที่ได้รับการประเมินภายนอกรอบแรกจาก สำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)(สมศ.) ในระหว่าง ปี 2544-2548 จำนวนทั้งหมด 278 โรงเรียน และใช้ข้อมูลทุติยภูมิซึ่งเป็นผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ การวิเคราะห์ จัดกลุ่ม และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า สามารถจัดกลุ่มโรงเรียนได้ 3 กลุ่ม โดย กลุ่มที่ 1 ชื่อว่า กลุ่มโรงเรียนที่มีคุณภาพมาตรฐาน มี 139 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 50 กลุ่มที่ 2 ชื่อว่า กกลุ่มโรงเรียนที่ ด้อยมาตรฐานด้าน ผู้บริหารและด้านครู มี 100 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 36 กลุ่มที่ 3 ชื่อว่ากลุ่มโรงเรียนที่ด้อยมาตรฐานด้านผู้เรียน มี 39 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 14 และพบว่า มาตรฐานด้านผู้เรียน ด้านครู และด้านผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ .01 ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ในช่วง .446 ถึง .528

คำสำคัญ: การประกันคุณภาพ, การประเมินคุณภาพการศึกษา, การวิเคราะห์การจัดกลุ่ม, มาตรฐานการศึกษา

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=667